ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ 100 : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
๑. ตรวจประเมินด้านกายภาพของสถานประกอบการอาหาร ๒. สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนทางด้านเคมีได้แก่บอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค ยาฆ่าแมลง กรดแร่อิสระ โพลาร์ ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เและตรวจความสะอาดในอาหาร มือของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (SI ๒) ๓..ประชาสัมพันธ์ด้านการสุขาภิบาลอาหาร ๔.ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี ๑๔๓ ราย
-1.ตรวจประเมินด้านกายภาพของสถานประกอบการอาหาร ๒. สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนทางด้านเคมีได้แก่บอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค ยาฆ่าแมลง กรดแร่อิสระ โพลาร์ ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เและตรวจความสะอาดในอาหาร มือของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (SI ๒) 3.ประชาสัมพันธ์ด้านการสุขาภิบาลอาหาร 4..ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 265 ราย
1.สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนทางด้านเคมีได้แก่บอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค ยาฆ่าแมลง กรดแร่อิสระ โพลาร์ ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เและตรวจความสะอาดในอาหาร มือของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (SI ๒) 2.ประชาสัมพันธ์ด้านการสุขาภิบาลอาหาร 3..ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 265 ราย
1.สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนทางด้านเคมีได้แก่บอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค ยาฆ่าแมลง กรดแร่อิสระโพลาร์ ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เและตรวจความสะอาดในอาหาร มือของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (SI ๒) 2.ประชาสัมพันธ์ด้านการสุขาภิบาลอาหาร 3.ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 288 ราย
1. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ตและมินิมาร์ท ในพื้นที่ 50 เขต ที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 2. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านความปลอดภัยของอาหาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร
จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครคูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต
1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย 2. ข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เอกสารการขอรับ และส่งป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |