ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 107.04
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างการประกาศเชิญชวนจัดซื้อไม้ืนต้น ไม่ดอก ไม้ประดับ และวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกและดูแลบำรุงรักษาต้นไม้
- โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว งบประมาณ 900,000 บาท ดำเนินงานได้ขนาดพื้นที่ 2 ไร่ 1 งาน - เพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยไม่ใช้งบประมาณของ กทม. 4 แห่ง สำนักงานเขตดอนเมือง ดำเนินการ 2 แห่ง (1) ทางเท้าถนนสรงประภาขาเข้า (10 ไร่ 3 งาน 75 ตร.ว.) (2) ทางเท้าถนนสรงประภาขาออก (6 ไร่ 2 งาน 25 ตร.ว.) หน่วยงานอื่นสนับสนุนงบประมาณ (พื้นที่ของ กทม.) 1 แห่ง (3) เกาะกลางถนนพหลโยธิน (3 ไร่ 3 งาน) เอกชนดำเนินการในพื้นที่ของเอกชน 1 แห่ง (4) สวนหมู่บ้าน Pleno ซ.สรงประภา 30 (2 ไร่) เป้าหมาย ร้อยละ 100 (33 ไร่ 3 งาน) ดำเนินการได้ ร้อยละ 75.56 (25 ไร่ 2 งาน)
- โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว งบประมาณ 900,000 บาท ดำเนินงานได้ขนาดพื้นที่ 2 ไร่ 1 งาน (พื้นที่ว่างข้างคูนายกิมสาย 2) - เพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยไม่ใช้งบประมาณของ กทม. 7 แห่ง (1) ทางเท้าถนนสรงประภาขาเข้า (10 ไร่ 3 งาน 75 ตร.ว.) (2) ทางเท้าถนนสรงประภาขาออก (6 ไร่ 2 งาน 25 ตร.ว.) (3) สวนหย่อมหน้าสำนักงานเขตดอนเมือง (1 งาน) (4) เกาะกลางถนนพหลโยธิน (3 ไร่ 3 งาน) (5) สวนหมู่บ้าน Pleno ซ.สรงประภา 30 (2 ไร่) (6) สวนสุขภาพโรงพยาบาลทหารอากาศ (สีกัน) (5 ไร่) (7) สวนหย่อมภายในวัดเทพนิมิตต์ ถนนประชาอุทิศ (5 ไร่) เป้าหมาย ร้อยละ 100 (33 ไร่ 3 งาน) ดำเนินการได้ ร้อยละ 105.93 (35 ไร่ 3 งาน)
1. พื้นที่ว่างข้างคูนายกิมสาย 2 (900 ตร.ว.) 2. สวนถนน ทางเท้า ถ.สรงประภาขาเข้า (4,375 ตร.ว.) 3. สวนถนน ทางเท้า ถ.สรงประภาขาออก (2,625 ตร.ว.) 4. เกาะกลาง ถ.พหลโยธิน (1,500 ตร.ว.) 5. สวนสุขภาพ รพ.ทหารอากาศ (สีกัน) (2,000 ตร.ว.) 6. สวนหย่อมวัดเทพนิมิตต์ (2,000 ตร.ว.) 7. สวนหมู่บ้าน Pleno ดอนเมือง - สรงประภา (800 ตร.ว.) 8. สวนหย่อมหน้า สนข.ดอนเมือง (100 ตร.ว.) 9. สวนหย่อมหลัง ธ.ไทยพาณิชย์ สาขาตลาดใหม่ (150 ตร.ว.) เป้าหมาย ร้อยละ 100 (33 ไร่ 3 งาน หรือ 13,500 ตร.ว.) ดำเนินการได้ ร้อยละ 107.04 (36 ไร่ 50 ตร.ว. หรือ 14,450 ตร.ว.)
– พื้นที่สีเขียวหมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย 10 ประเภทแยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรปูแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี - กรณีข้อ 2 กรณีหากสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียว ในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวนฯ กำหนดแทน
1. กำหนดให้พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ คิดคะแนนประเภทละ 100 % รวม 200% 2. เฉลี่ยผลลัพธ์ตามข้อ 1 ให้เหลือร้อยละ 100 3. นำผลที่ได้จากข้อ 2 พิจารณาในส่วนความสมบูรณ์ของข้อมูลใน 3 ส่วนคือ 1) รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละแห่ง 2) ที่ตั้ง 3) ภาพถ่ายทั้งนี้หักข้อละ 1 % ของคะแนนที่ได้รับ 4. หลังจากตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์จะเป็นคะแนนที่ได้ของแต่ละ สำนักงานเขต
พิจารณาผลสัมฤทธิ์การดำเนินการจาก “โปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” เท่านั้น
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่ |