รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

(องค์ประกอบที่ 3) กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย (2) ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) : 5025-6505

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 20

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 69.14

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00
100
100 / 100
2
25.89
100
100 / 100
3
25.89
100
100 / 100
4
69.14
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

๑. จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ๒. อยู่ระหว่างขออนุมัติปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ๓. ตรวจประเมินด้านกายภาพของสถานประกอบการอาหาร ๔. สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนทางด้านเคมีได้แก่บอแรกซ์ สารฟอร์มาลีน สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค ยาฆ่าแมลง กรดแร่อิสระ โพลาร์ ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) เและตรวจความสะอาดในอาหาร มือของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (SI ๒) ๕.ประชาสัมพันธ์ด้านการสุขาภิบาลอาหาร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เป้าหมายสถานประกอบการทั้งหมด 309 แห่ง ดำเนินการได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ดังนี้ - ระดับดีมาก (4 ดาว) 72 แห่ง - ระดับดีเลิศ (5 ดาว) 8 แห่ง รวม 80 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25.89 (ระดับ 5)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เป้าหมายสถานประกอบการทั้งหมด 309 แห่ง ดำเนินการได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ดังนี้ - ระดับดีมาก (4 ดาว) 72 แห่ง - ระดับดีเลิศ (5 ดาว) 8 แห่ง รวม 80 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25.89 (ระดับ 5)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สถานประกอบการอาหารทั้งหมด 323 แห่ง (ณ เดือนกันยายน 2564) - ปิดตามประกาศกรุงเทพมหานคร 80 แห่ง - คงเหลือ 243 แห่ง เป้าหมาย 49 แห่ง (ร้อยละ 20) ดำเนินการได้ 168 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 69.14)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

และมินิมาร์ท ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 50 เขต 2. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 2.1 ด้านสุขลักษณะทางกายภาพ อาคารสถานที่ (Place) 2.2 ด้านคุณภาพอาหาร (Food) 2.3 ด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร (Food Handler) 3. การบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) หมายถึง สถานประกอบการอาหารมีการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 4 ข้อ โดยต้องผ่านข้อมาตรฐานหลักทุกข้อ ดังนี้ (1) ไม่มีเหตุรำคาญจากการประกอบกิจการ (ข้อมาตรฐานหลัก) (2) ไม่ใช้ภาชนะที่ทำจากโฟม (ข้อมาตรฐานหลัก) (3) เลือกใช้วัตถุดิบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หรือได้รับการรับรองมาตรฐานด้านความปลอดภัยที่เชื่อถือได้ (4) มีการคัดแยกขยะ เช่น ขยะรีไซเคิลขยะทั่วไปและขยะอันตราย เป็นต้น (5) มีการนำขยะอาหาร วัตถุดิบเหลือใช้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ (6) เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด หรือการกำจัดแมลง สัตว์นำโรคที่มีวิธีหรือส่วนประกอบจากธรรมชาติ (7) มีนโยบายให้ลูกค้านำภาชนะมาใส่อาหารเองได้

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. ข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. ระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร และ BMA Food Safety Application * เริ่มดำเนินการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง