รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

4.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ 2563 : 5026-0848

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 4

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 4

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00
100
100 / 100
2
2.00
100
100 / 100
3
3.00
100
100 / 100
4
4.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

วิเคราะห์กระบวนงานด้านอาชีวอนามัยเพิ่มเติมและต่อยอดกระบวนงานเดิม จัดทำโครงการ เวียนทราบข้อปฏิบัติการใช้รถยนต์ส่วนกลาง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการตามข้อปฏิบัติการทำงาน และติดตามผลการทำงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการตามข้อปฏิบัติการทำงาน และติดตามผลการทำงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สรุปผลการดำเนินการตามข้อปฏิบัติการทำงาน เวียนทราบ ประชาสัมพันธ์ข้อปฏิบัติ และติดตามผลการทำงาน รายงานผู้บริหารและสำนักอนามัยทราบ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

หลักการด้านอาชีวอนามัย = แนวทางตามตัวชี้วัดที่ 4.2 การสืบค้น (Identify) การประเมินอันตราย (Evaluation) การควบคุม (Control) เป้าหมายปี 2563 1.ต่อยอดพัฒนางาน(เดิม)ที่ดำเนินการในปีที่ผ่านมา และขยายผลการดำเนินงานจัดการงานที่มีความเสี่ยงสูง (เพิ่มเติม) 2.นำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือ มาตรฐานกลางสำหรับการปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงสูง เวียนทราบและถือปฏิบัติในหน่วยงานโดยทั่วกัน ทั้งนี้ ในส่วนของการประเมินความสำเร็จของตัวชี้วัดที่ 4.2 ในปีนี้ยังคงวัดความสำเร็จเป็นแบบผสมผสาน (Hybrid) คือ ประเมินความสำเร็จจากความก้าวหน้าขั้นตอนการดำเนินงาน และประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงาน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ระดับที่ 1 ประกอบด้วย 4 ส่วน ส่วนที่ 1 มีการทบทวน วิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินอันตรายจากการท􀄞ำงาน พร้อมกับคัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงสูง นำมาดำเนินการจัดการความเสี่ยงในการทำงาน อย่างน้อย 2 งาน ส่วนที่ 2 มีการพิจารณาคัดเลือกงานที่ได้จัดการความเสี่ยงไปแล้วในปีที่ผ่านมา โดยนำมาต่อยอดพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น อย่างน้อย 1 งาน ส่วนที่ 3 มีการนำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือ มาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย ในการทำงาน เวียนทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน ส่วนที่ 4 มีการรายงานผลการดำเนินงานพร้อมหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับส่วนที่ 1 ถึง 3 ให้สำนักอนามัยภายในเดือนธันวาคม 2562 ระดับที่ 2 ประกอบด้วย 4 ส่วน ส่วนที่ 1 มีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ระดับที่ 1 ครบถ้วน ส่วนที่ 2 มีโครงการพัฒนาและจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานของหน่วยงาน โดยจัดส่งสำเนาโครงการฯ และหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้สำนักอนามัย ภายในเดือนธันวาคม 2562 ส่วนที่ 3 มีการดำเนินโครงการและกำกับติดตามผลการดำเนินโครงการฯ ส่วนที่ 4 มีการรายงานผลการปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน ครั้งที่ 2ให้สำนักอนามัย ภายในเดือนเมษายน 2563 ระดับที่ 3 ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 มีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ระดับที่ 1 และ 2 ครบถ้วน ส่วนที่ 2 มีการประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินโครงการฯ ระดับที่ 4 ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 มีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ระดับที่ 1 ถึง 3 ครบถ้วน ส่วนที่ 2 มีการจัดทำและนำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือ มาตรฐานการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงานของหน่วยงานไปใช้งานภายในหน่วยงาน ส่วนที่ 3 มีการติดตามและประเมินผลการใช้งานข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานฯ ที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ระดับที่ 5 ประกอบด้วย 4 ส่วน ส่วนที่ 1 มีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ระดับที่ 1 ถึง 4 ครบถ้วน ส่วนที่ 2 มีการดำเนินการเพื่อการเป็นต้นแบบที่ดีให้หน่วยงานอื่นใช้เป็นแบบอย่างในการดำเนินงานหรือใช้ประโยชน์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนที่ 3 มีการสรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ ส่วนที่ 4 มีการรายงานผลการปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน ครั้งที่ 3 ให้สำนักอนามัย พร้อมจัดส่งผลการดำเนินการและหลักฐานที่เกี่ยวข้องตามที่กำหนดให้สำนักอนามัย ภายในวันที่ 17 สิงหาคม 2563

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ขั้นตอนที่ 1 ทบทวน วิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินอันตรายจากการทำงาน คัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงสูงนำมาจัดการความเสี่ยงในการทำงาน อย่างน้อย 2 งาน คัดเลือกงานที่ได้จัดการความเสี่ยงในปีที่ผ่านมา นำมาต่อยอดพัฒนางาน อย่างน้อย 1 งาน และนำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน เวียนทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน พร้อมทั้งรายงานผลการดำเนินงานให้สำนักอนามัย ภายในเดือนธันวาคม 2562 ขั้นตอนที่ 2 จัดทำโครงการพัฒนาและจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานของหน่วยงาน โดยจัดส่งสำเนาโครงการฯ และหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ส􀄞ำนักอนามัย ภายในเดือนธันวาคม 2562 ดำเนินโครงการตามแผนงานและกำกับติดตามผลการดำเนินโครงการฯ พร้อมรายงานผลการปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงานครั้งที่ 2 ให้สำนักอนามัยภายในเดือนเมษายน 2563 ขั้นตอนที่ 3 ประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินโครงการฯ ขั้นตอนที่ 4 จัดทำและนำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือ มาตรฐานการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงานของหน่วยงานไปใช้งานภายในหน่วยงาน พร้อมติดตามและประเมินผลการใช้งานข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือ มาตรฐานฯที่ดำเนินการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ขั้นตอนที่ 5 ดำเนินการเพื่อการเป็นต้นแบบที่ดีให้หน่วยงานอื่นใช้เป็นแบบอย่างในการดำเนินงานหรือใช้ประโยชน์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ พร้อมรายงานผลการปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือ มาตรฐานกลาง การปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน ครั้งที่ 3 ให้สำนักอนามัยและจัดส่งผลการดำเนินการและหลักฐานที่เกี่ยวข้องตามที่กำหนดให้สำนักอนามัย ภายในวันที่ 17 สิงหาคม 2563

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร%
:๑.๖.๑.๑ คัดกรองและลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง