รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น : 5027-6503

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 0
2
50.00
100
100 / 100
3
80.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินขั้นตอนศึกษารายละเอียดโครงการและดำเนินการเตรียมการขอความเห็นชอบจัดซื้อจัดจ้าง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- เป้าหมายพื้นที่สีเขียวที่อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ ได้สำรวจและส่งข้อมูลให้สำนักสิ่งแวดล้อมเพื่อกำหนดเป็นเป้าหมายตัวชี้วัดเจรจา จำนวน 1,380 ตร.ม. เพื่อลงข้อมูลในโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร (สำนักสิ่งแวดล้อม+สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล) ผลการดำเนินการ ได้สำรวจและลงข้อมูลในโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร (สำนักสิ่งแวดล้อม+สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล) จำนวน 1,380 ตร.ม. เรียบร้อยแล้ว ครบตามเป้าหมาย ร้อยละ 100 - เป้าหมายพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนดให้สำนักงานเขตสำรวจพื้นที่ว่างเปล่าและลงข้อมูลในโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร (สำนักสิ่งแวดล้อม+สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล) ไม่ต่ำกว่า 12 แห่ง/ปี ผลการดำเนินการ สำรวจพื้นที่ว่างเปล่าและลงข้อมูลในโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร (สำนักสิ่งแวดล้อม+สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล) จำนวน 13 แห่ง - โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในปี 2564 1. ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนโชคชัย 4 ตั้งแต่โรงพยาบาลเปาโลสยามถึงสุดถนนโชคชัย 4 (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 5,300 เมตร 2. ปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนเสนานิคม 1 ตั้งแต่แยกวังหินถึงหมู่บ้านอมรพันธ์ 9 (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 1,000 เมตร 3. ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนลาดปลาเค้า 24 ตั้งแต่ถนนลาดปลาเค้าถึงสุดซอย (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 1,800 เมตร 4. ปรับปรุงภูมิทัศน์ซอยสตรีวิทยา 2 แยก 10 ตั้งแต่ต้นซอยถึงท้ายซอย (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 600 เมตร ผลการดำเนินการ อยู่ระหว่างดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในปี 2564 1. ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนโชคชัย 4 ตั้งแต่โรงพยาบาลเปาโลสยามถึงสุดถนนโชคชัย 4 (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 5,300 เมตร 2. ปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนเสนานิคม 1 ตั้งแต่แยกวังหินถึงหมู่บ้านอมรพันธ์ 9 (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 1,000 เมตร 3. ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนลาดปลาเค้า 24 ตั้งแต่ถนนลาดปลาเค้าถึงสุดซอย (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 1,800 เมตร 4. ปรับปรุงภูมิทัศน์ซอยสตรีวิทยา 2 แยก 10 ตั้งแต่ต้นซอยถึงท้ายซอย (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 600 เมตร ผลการดำเนินการ อยู่ระหว่างดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียวในปี 2564 1. ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนโชคชัย 4 ตั้งแต่โรงพยาบาลเปาโลสยามถึงสุดถนนโชคชัย 4 (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 5,300 เมตร 2. ปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนเสนานิคม 1 ตั้งแต่แยกวังหินถึงหมู่บ้านอมรพันธ์ 9 (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 1,000 เมตร 3. ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณถนนลาดปลาเค้า 24 ตั้งแต่ถนนลาดปลาเค้าถึงสุดซอย (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 1,800 เมตร 4. ปรับปรุงภูมิทัศน์ซอยสตรีวิทยา 2 แยก 10 ตั้งแต่ต้นซอยถึงท้ายซอย (ทั้งสองฝั่ง) ระยะทาง 600 เมตร ผลการดำเนินการ ดำเนินการแล้วเสร็จ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวน หมายถึง 1. พื้นที่ใด ๆ ในแต่ละพื้นที่เขตที่ไม่เคยถูกพัฒนาเป็นสวนหย่อม/สวนสาธารณะ (ตามนิยาม 7 ประเภท ของสำนักงานสวนสาธารณะ สสล.)มาก่อน ทั้งนี้อาจเป็นพื้นที่ว่างเปล่า/เกาะกลางถนน/ริมทาง/ริมคลอง/ใต้ทางด่วน/กำแพง/ผนังตึก/รั้ว ฯลฯ) ซึ่ง สนข./สสณ. สสล.นำไปพัฒนาเป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ทั้ง 7 ประเภท 2. การพัฒนาพื้นที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อมต้องพัฒนาให้มีพรรณไม้ปกคลุมขนาดตั้งแต่>2 ตร.ม. ขึ้นไป โดยเน้นการปลูกพรรณไม้ถาวรเป็นหลักโดยดำเนินการดังต่อไปนี้ 2.1 จัดให้อยู่ในรูปแบบสวน 2.2 จัดทำเป็นสวนตามแนวราบ/พื้นที่สีเขียวขึ้นตามแนวดิ่งจัดทำเป็นสวนแนวตั้ง (แบบถาวร) เช่น ปลูกตามแนวกำแพง/รั้ว/ผนังอาคาร/ตามสิ่งก่อสร้างอาคารสะพานลอด ฯลฯ 2.3 จัดทำเป็นรูปแบบสวนป่า หมายถึง การปลูกต้นไม้ในลักษณะเป็นพื้นที่ โดยมีทั้งไม้ในระดับสูง กลาง และระดับต่ำ ระยะปลูกระหว่างต้นเท่ากับ 4x4 เมตร ให้คิดเฉลี่ย 100 ต้นเป็นพื้นที่ 1 ไร่ โดยทั้งนี้ให้นับเฉพาะการปลูกเต็มพื้นที่และรวมอยู่ในพื้นที่เดียวกัน 2.4 การปลูกไม้ยืนต้นในลักษณะต่อเนื่องเป็นแนวยาว(Green Corridor) เช่น ปลูกตามริมถนน ริมคลอง ริมทางเท้า เป็นต้น การคำนวณพื้นที่โดยนำความกว้างของทรงพุ่มคูณความยาวของระยะทางที่ปลูก 3. การเพิ่มพื้นที่สวนสามารถดำเนินการได้หลายลักษณะ กล่าวคือ 3.1 กรุงเทพมหานครดำเนินการเองโดยใช้และไม่ใช้งบประมาณ 3.2 สนับสนุนหน่วยราชการอื่นๆ/บริษัท ห้างร้านเอกชน หรือประชาชน ฯลฯ ดำเนินการในพื้นที่ของตนเอง 3.3 รวบรวมพื้นที่ซึ่งหน่วยงานอื่น บริษัท ห้างร้าน เอกชน วัด หมู่บ้านจัดสรร ฯลฯ ซึ่งมีการดำเนินการพัฒนาเป็นสวนตามนิยามของสวนสาธารณะ 7 ประเภทไว้แล้ว 4. การจัดทำทะเบียนพื้นที่สวนแบ่งเป็น 4 ประเภทคือ 4.1 สวนสาธารณะซึ่งสำนักงานเขตดำเนินการเอง 4.2 สวนสาธารณะของสำนักงานสวนสาธารณะ 4.3 สวนสาธารณะซึ่งดำเนินการโดยหน่วยงานอื่น 4.4 อื่นๆ เช่น หมู่บ้านจัดสรร วัด บริษัท/ห้างร้าน ภาคเอกชน ประชาชน ฯลฯ การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด 1. สำนักสิ่งแวดล้อม (เจ้าภาพหลัก) รับผิดชอบ 1.1 ภาพรวมความสำเร็จการพัฒนาพื้นที่สีเขียวตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีที่ตรวจประเมินกำหนด ซึ่งในปี 2564 คิดเป็น 7.21 ตร.ม./คน 1.2 จัดทำค่าเป้าหมายรายเขตเพื่อกำหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาพื้นที่สีเขียวตามศักยภาพพื้นที่ภายใต้ค่าเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปีที่ตรวจประเมินกำหนด 1.3 พัฒนาพื้นที่สีเขียวในส่วนที่รับผิดชอบประกอบด้วยพื้นที่ สีเขียวในรูปแบบสวนสาธารณะและสวน 7 ประเภท 1.4 นำเข้าข้อมูลสำรวจ รวบรวม และพัฒนาพื้นที่สีเขียวในส่วนที่รับผิดชอบตามข้อ 1.3 1.5 ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลซึ่งปรากฏในฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ได้แก่รายละเอียด ที่ตั้ง และภาพถ่ายของพื้นที่ สีเขียวแต่ละแห่ง 2. สำนักงานเขต (เจ้าภาพร่วม) รับผิดชอบ 2.1 สำรวจ รวบรวม และพัฒนาพื้นที่สีเขียวในส่วนที่รับผิดชอบตามรายละเอียดที่กำหนด 2.2 นำข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครซึ่งใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดฯ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

A= B/C A = สัดส่วนพื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวนต่อประชากร (ตร.ม./คน) B = พื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวนเมื่อสิ้นเดือน ก.ย.ของปีที่ตรวจประเมินผล (ตร.ม) C = จำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ของ กทม. (คน)

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ผลการดำเนินงานจำแนกตามช่วงเวลาการประเมินผล สิ้นปีงบประมาณ ร้อยละ 100

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง