รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก : 5030-1014

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ระหว่างเดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม สามารถวัดปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมาเฉลี่ย 4.7 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง ในรายงานปริมาณน้ำฝนประจำวันของสำนักการระบายน้ำ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-มีฝนที่ตกลงมาระหว่างเดือน 1 ตุลาคม 62 – 25 มี.ค. 63 เฉลี่ย 5.647 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง และไม่มีน้ำท่วมขัง ซึ่งถือว่าเป็นไปตามเป้าหมายคือกรณีฝนตกไม่เกิน 60 ม.ม. ต้องไม่มีน้ำท่วมขัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-มีฝนที่ตกลงมาระหว่างเดือน 1 ตุลาคม 62 – มิ.ย. 63 มีค่าเฉลี่ยไม่เกิน 60 มิลลิเมตร และไม่มีน้ำท่วมขัง ซึ่งถือว่าเป็นไปตามเป้าหมายคือกรณีฝนตกไม่เกิน 60 ม.ม. ต้องไม่มีน้ำท่วมขัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-มีฝนที่ตกลงมาระหว่างเดือน 1 ตุลาคม 62 – ก.ย. 63 มีค่าเฉลี่ยไม่เกิน 60 มิลลิเมตร และไม่มีน้ำท่วมขัง ซึ่งถือว่าเป็นไปตามเป้าหมายคือกรณีฝนตกไม่เกิน 60 ม.ม. ต้องไม่มีน้ำท่วมขัง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม/คำอธิบาย - ถนนสายหลัก หมายถึง ถนนทั้งหมดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งสำนักงานเขตรับผิดชอบดูแลก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นผิวถนน - ความสามารถระบายน้ำท่วมขัง หมายถึง ความสามารถในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นผิวถนน สามารถระบายน้ำเข้าสู่สภาวะปกติได้ในเวลาที่กำหนด ยกเว้นพื้นที่ที่มีการก่อสร้างที่ส่งผลกระทบต่อระบบระบายน้ำ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ วัดช่วงเวลาน้ำท่วมนับจากฝนหยุดตกโดยใช้ข้อมูลสถิติที่บันทึกไว้จากกองระบบสารสนเทศระบายน้ำ โดยถนนสายหลักในพื้นที่ต้องสามารถระบายน้ำท่วมขังได้ภายในระยะเวลา ดังนี้ - กรณีฝนตกเกิน ๑๐๐ มิลลิเมตร สามารถระบายน้ำท่วมขังได้๙๐ นาที - กรณีฝนตกเกิน ๖๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐๐ มิลลิเมตร สามารถระบายน้ำท่วมขังได้ ภายใน ๓๐ นาที - กรณีฝนตกไม่เกิน ๖๐ มิลลิเมตร ไม่มีน้ำท่วมขัง เกณฑ์การให้คะแนน (จำนวนครั้งที่ระบายน้ำได้ตามเกณฑ์ x ๑๐๐)/จำนวนครั้งที่ฝนตกและมีน้ำท่วมขังทั้งหมด เทียบเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้น สามารถระบายน้ำได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ ๑๐๐ = ๑๐ คะแนน ร้อยละ ๙๐-๙๙ = ๘ คะแนน ร้อยละ ๘๐-๘๙ = ๖ คะแนน ร้อยละ ๗๐-๗๙ = ๔ คะแนน ร้อยละ ๖๐-๖๙ = ๒ คะแนน ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ = ๐ คะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง