รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม : 5030-1044

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
50.00
0
0 / 0
3
75.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดทำโครงการ คำสั่งและออกสำรวจจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตบางคอแหลมประจำปีงบประมาณ 2564 พบว่ามีจุดเสี่ยงภัยที่ได้รับการแก้ไขจนพ้นสภาพเสี่ยงภัยแล้ว จำนวน 14 จุด จึงได้แจ้งสำนักเทศกิจขอลกจุดเสี่ยงภัยจากเดิม 25 จุด ลดลงเหลือ 11 จุด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1/27/2021 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... .ให้เจ้าหน้าที่ทศกิจออกตรวจตราพื้นที่เสี่นงภัยต่อการเกิดอาชญากรรมเป็นประจำทุกวันและอำนวยความสะดวกด้านการจราจรในจุดเสี่ยงภัยทางถนน 2/25/2021 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจพื้นเสี่ยงภัยเป็นประจำทุกวันพร้อมทั้งลงชื่อในสมุดปฏิบัตืงานและรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ 25/03/2564 : จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจอำนวยความสะดวกด้านการจราจรบริเวณหน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน เช้า - เย็น และตรวจจุดเสี่ยงภัยอย่างน้อยวันละ 3 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยเป็นประจำทุกวันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้งพร้อมทั้งรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารและสำนักเทศกิจทราบเป็นประจำทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เจ้าหน้าที่เทศกิจออกสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อโครงการร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรมโดยใช้แบบสำรวจออนไลน์ผ่านระบบ google form โดยประชาชนมีความพึงพอใจอยู่ที่ร้อยละ 95

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

๑.พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรมกับประชาชน โดยพื้นที่เสี่ยงภัยที่เป็นเป้าหมายในการดำเนินการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 นั้น ได้นำรายละเอียดพื้นที่เสี่ยงภัยและวิธีการแก้ไขหรือลดปัจจัยเสี่ยงภัยมาจากบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ซึ่งเกิดจากการสำรวจและรวบรวมข้อมูลของคณะทำงานโครงการสำรวจและจัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ อาชญากรรม หมายถึง เหตุ/ช่องทาง/สิ่งต่าง ๆ ที่อาจทำให้เกิดเหตุอาชญากรรม หรือก่อเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งได้ตามสภาพพื้นที่นั้น ๓.การลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง การปรับ แก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมพื้นที่ เช่น การติดตั้งซ่อมแซมไฟส่องสว่าง การดูแลต้นไม้การติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด(CCTV) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรมการทำความสะอาด ฯลฯ รวมทั้งการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่โดยการจัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจตราเพื่อเป็นการป้องปรามการก่อเหตุอาชญากรรม หรือเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยตามแต่ละสภาพพื้นที่นั้น ๆ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม คูณ 100 หาร จำนวนพื้นที่ เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรมทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. เอกสารประกอบการดำเนินการ 2. ระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA digitalplans)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง