รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จของการจัดกิจกรรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชน : 5030-1046

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
50.00
0
0 / 0
3
70.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการพิจารณาการจัดกิจกรรมที่ 1 และขอเงินงวด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ขออนุมัติวันจัดกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยอละยาเสพติด - วันศุกร์ที่ 30 เมษา 64 ณ ประชุมอินทร์บรรจงชั้น 9 สำนักงานเขตบางคอแหลม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยยาเสพติดโลก วันที่ 26 มิถุนายน 2564 ในรูปแบบการสร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางออนไลน์โดยไม่ใช้งบประมาณในการดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่วางไว้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

กรุงเทพมหานคร ได้จัดตั้งคณะกรรมการบริหารการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดกรุงเทพมหานครและมีศูนย์อำนวยการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดกรุงเทพฯ (ศอ.ปส.กทม.) ตามคำสั่งที่ 2/2558 ลงวันที่ 22 พฤษภาคม 2558 โดยมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานกรรมการบริหาร และได้กำหนดนโยบาย มหานครแห่งความปลอดภัย และมาตรการเร่งด่วนในการจัดตั้งอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด เพื่อให้อาสาสมัครฯ เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน ซึ่งเป็นการสร้างกรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งความปลอดภัยสำหรับเด็ก เยาวชน และประชาชนทุกคน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ความสำเร็จในการจัดกิจกรรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชน x๑๐๐ หารจำนวนการจัดกิจกรรมอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดในชุมชนทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. เอกสารประกอบการดำเนินการ 2. ระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA digitalplans)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา%
:๑.๒.๒.๑ เพิ่มระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังยาเสพติด

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง