รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการตามแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตบางคอแหลม : 5030-1050

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 70

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
50.00
0
0 / 0
3
50.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-อยู่ในขั้นตอนการจัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการฯ -จัดทำแผนสำรวจชุมชนและขออนุมัติแผน -เสนอแผนเตรียมดำเนินการตามแผนการปฏิบัติงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-จัดทำแผนการปฏิบัติงานสำรวจชุมชนในพื้นที่เขตบางคอแหลม -จัดทำแผนการปฏิบัติงานสำรวจชุมชนในพื้นที่เขตบางคอแหลมแล้วเสร็จ และจะปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติงานต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เนื่องจากปัจจุบันมีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 จึงทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามกำหนด จึงทำให้มีการชะลดการดำเนินงานตามโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ขออนุมัติเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินงานตามแผน -สรุปและจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

โรคไข้เลือดออกเป็น 1 ใน 5 ของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในเขตบางคอแหลมปี 2563 ( 5 มกราคม - 20 มิถุนายน 2563) พบว่ามีผู้ป่วย จำนวน 26 ราย เป็นอันดับ 16 ใน 50 เขตของกรุงเทพมหานคร อัตราป่วย 29.92 ต่อประชากรแสนคน มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตทั้งในด้านการเจ็บป่วยและเสียชีวิต สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประชาชน และสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวม ดังนั้นการสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายโดยเฉพาะการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในพื้นที่ จึงมีความสำคัญโดยนำแนวทางการจัดการพาหนะนำโรคแบบผสมผสาน (Integrated Vector Management) มาบริหารจัดการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนการดำเนินงานตามแผนดำเนินกิจกรรมจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานใน 28 ชุมชน คูณ 100 หารจำนวนการดำเนินงานตามแผนดำเนินกิจกรรมจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานใน 28 ชุมชนทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. เอกสารประกอบการดำเนินการ 2. ระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA digitalplans)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง%
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง