รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

จำนวนเครือข่ายประชาคมที่เป็นทางการเพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน ตัดสินใจ และติดตามตรวจสอบการทำงานของกรุงเทพมหานคร : 5030-1052

ค่าเป้าหมาย เครือข่าย/สำนักงานเขต : 1

ผลงานที่ทำได้ เครือข่าย/สำนักงานเขต : 1

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(เครือข่าย/สำนักงานเขต)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00
100
100 / 100
2
1.00
0
0 / 0
3
1.00
0
0 / 0
4
1.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดการประชุมคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขตบางคอแหลม จำนวน 1 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เตรียมการประชุม ครั้งที่ 2 เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) คาดว่าจัดกิจกรรมในเดือนเมษายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เตรียมการประชุม ครั้งที่ 2 เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) คาดว่าจัดกิจกรรมในเดือนกรกฎาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

งดจัดกิจกรรม เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การที่กลุ่มประชาชน หรือขบวนการที่สมาชิกของชุมชนที่กระทำการออกมาในลักษณะของการทำงานร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วม ความสนใจร่วม มีความต้องการที่จะบรรลุถึงเป้าหมายร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมหรือการเมือง หรือการดำเนินการร่วมกันเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจ มติชน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคมในกลุ่มชุมชน สภาเด็กและเยาวชน เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกลุ่มเยาวชนที่มีการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อปฏิบัติภารกิจร่วมกันในการแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนในระดับท้องถิ่นและร่วมกันจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม โดยที่แต่ละกลุ่มยังคงปฏิบัติภารกิจหลักของตนต่อไปอย่างไม่สูญเสียเอกลักษณ์และปรัชญาของกลุ่ม

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนเครือข่ายประชาคมที่เป็นทางการเพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน ตัดสินใจ และติดตามตรวจสอบการทำงานของกรุงเทพมหานครคูณ 100 หาร 1

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. เอกสารประกอบการดำเนินการ 2. ระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร (BMA digitalplans)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
:๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล
:๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง%
:๕.๒.๑.๑ รับฟังความคิดเห็นของประชาชนผ่าน “สภาประชาชนกรุงเทพมหานคร”

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง