ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างดำเนินการหาพื้นที่สีเขียวหรือสวยหย่อมภายในพื้นที่เขต
ดำเนินการหาพื้นที่สีเขียวหรือสวยหย่อมภายในพื้นที่เขต
ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียวจากพื้นที่คอนโด พื้นที่บ้านเรือนประชาชน และสวนพื้นที่ต่าง ๆ โดยระบุที่ตั้ง และขนาดพื้นที่สีเขียว พร้อมทั้งรายงานในระบบฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 5 แห่ง ดังนี้ 1. สวนดาดฟ้าตึก A ตึก B รีเจ้นท์โฮม บางซ่อน เฟส 28 2. สวนหย่อมด้านหลังรีเจ้นท์โฮมบางซ่อน เฟส 28 3. สวนหย่อมด้านซ้ายและด้านขวาเป็นวงกลม รีเจ้นท์โฮมบางซ่อน เฟส 28 4. สวนหย่อมด้านริมรั้วรอบรีเจ้นท์โฮม บางซ่อน เฟส 28 5. สวนหย่อมด้านหลังี่จอดรถ รีเจ้นท์โฮมบางซ่อม เฟส 28
เป้าหมาย ร้อยละ 100 (5,120 ตรม.) ดำเนินการได้ ร้อยละ 100 (7,720 ตรม.) ผลการดำเนินการ ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียวจากพื้นที่คอนโด พื้นที่บ้านเรือนประชาชน และสวนพื้นที่ต่าง ๆ โดยระบุที่ตั้ง และขนาดพื้นที่สีเขียว พร้อมทั้งรายงานในระบบฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 5 แห่ง ดังนี้ 1. สวนดาดฟ้าตึก A ตึก B รีเจ้นท์โฮม บางซ่อน เฟส 28 2. สวนหย่อมด้านหลังรีเจ้นท์โฮมบางซ่อน เฟส 28 3. สวนหย่อมด้านซ้ายและด้านขวาเป็นวงกลม รีเจ้นท์โฮมบางซ่อน เฟส 28 4. สวนหย่อมด้านริมรั้วรอบรีเจ้นท์โฮม บางซ่อน เฟส 28 5. สวนหย่อมด้านหลังี่จอดรถ รีเจ้นท์โฮมบางซ่อม เฟส 28
พื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวน หมายถึง 1. พื้นที่ใด ๆ ในแต่ละพื้นที่เขตที่ไม่เคยถูกพัฒนาเป็นสวนหย่อม/สวนสาธารณะ (ตามนิยาม 7 ประเภท ของสำนักงานสวนสาธารณะ สสล.)มาก่อน ทั้งนี้อาจเป็นพื้นที่ว่างเปล่า/เกาะกลางถนน/ริมทาง/ริมคลอง/ใต้ทางด่วน/กำแพง/ผนังตึก/รั้ว ฯลฯ) ซึ่ง สนข./สสณ. สสล.นำไปพัฒนาเป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ทั้ง 7 ประเภท 2. การพัฒนาพื้นที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อมต้องพัฒนาให้มีพรรณไม้ปกคลุมขนาดตั้งแต่>2 ตร.ม. ขึ้นไป โดยเน้นการปลูกพรรณไม้ถาวรเป็นหลักโดยดำเนินการดังต่อไปนี้ 2.1 จัดให้อยู่ในรูปแบบสวน 2.2 จัดทำเป็นสวนตามแนวราบ/พื้นที่สีเขียวขึ้นตามแนวดิ่งจัดทำเป็นสวนแนวตั้ง (แบบถาวร) เช่น ปลูกตามแนวกำแพง/รั้ว/ผนังอาคาร/ตามสิ่งก่อสร้างอาคารสะพานลอด ฯลฯ 2.3 จัดทำนรูปแบบสวนป่า หมายถึง การปลูกต้นไม้ในลักษณะเป็นพื้นที่ โดยมีทั้งไม้ในระดับสูง กลาง และระดับต่ำ ระยะปลูกระหว่างต้นเท่ากับ 4x4 เมตร ให้คิดเฉลี่ย 100 ต้นเป็นพื้นที่ 1 ไร่ โดยทั้งนี้ให้นับเฉพาะการปลูกเต็มพื้นที่และรวมอยู่ในพื้นที่เดียวกัน 2.4 การปลูกไม้ยืนต้นในลักษณะต่อเนื่องเป็นแนวยาว(Green Corridor) เช่น ปลูกตามริมถนน ริมคลอง ริมทางเท้า เป็นต้น การคำนวณพื้นที่โดยนำความกว้างของทรงพุ่มคูณความยาวของระยะทางที่ปลูก 3. การเพิ่มพื้นที่สวนสามารถดำเนินการได้หลายลักษณะ กล่าวคือ 3.1 กรุงเทพมหานครดำเนินการเองโดยใช้และไม่ใช้งบประมาณ 3.2 สนับสนุนหน่วยราชการอื่นๆ/บริษัท ห้างร้านเอกชน หรือประชาชน ฯลฯ ดำเนินการในพื้นที่ของตนเอง 3.3 รวบรวมพื้นที่ซึ่งหน่วยงานอื่น บริษัท ห้างร้าน เอกชน วัด หมู่บ้านจัดสรร ฯลฯ ซึ่งมีการดำเนินการพัฒนาเป็นสวนตามนิยามของสวนสาธารณะ 7 ประเภทไว้แล้ว 4. การจัดทำทะเบียนพื้นที่สวนแบ่งเป็น 4 ประเภทคือ 4.1 สวนสาธารณะซึ่งสำนักงานเขตดำเนินการเอง 4.2 สวนสาธารณะของสำนักงานสวนสาธารณะ 4.3 สวนสาธารณะซึ่งดำเนินการโดยหน่วยงานอื่น 4.4 อื่นๆ เช่น หมู่บ้านจัดสรร วัด บริษัท/ห้างร้าน ภาคเอกชน ประชาชน ฯลฯ
A=B/C A= สัดส่วนพื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวนต่อประชากร (ตร.ม./คน) B= พื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวนเมื่อสิ้นเดือน ก.ย.ของปีที่ตรวจประเมินผล(ตร.ม) C= จำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ของกทม. (คน)
-พิจารณาผลสัมฤทธิ์การดำเนินการจาก “โปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” เท่านั้น
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่ |