ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 68
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1.ขออนุมัติโครงการ 2. จัดทำรายละเอียดการดำเนินโครงการ 3. จัดเตรียมรายละเอียดเพื่อดำเนินโครงการ
(1) ดำเนินกิจกรรมชุมชนการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน ในพื้นที่ 25 ชุมชน โดยดำเนินการในกิจกรรมที่ 3 กรุงเทพฯ ปลอดลูกน้ำยุงลาย ดัง - รณรงค์เรื่องโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสา - เฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) - ขออนุมัติโครงการ - จัดทำรายละเอียดการดำเนินโครงการ - จัดเตรียมรายละเอียดเพื่อดำเนินโครงการ
ดำเนินการประชาสัมพันธ์ รณรงค์การเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก กำจัดแหล่งแพร่เชื้อ และฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงในพื้นที่เป้าหมาย และพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค
ดำเนินการจัดกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานของชุมชน เพื่อเสริมสร้างระบบกลไกในการดำเนินงานด้านการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนให้มีประสิทธิภาพและเกิดความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้พื้นที่เป้าหมายเป็นพื้นที่ปลอดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 34 ชุมชน
การรณรงค์ หมายถึง โครงการที่มีเป้าหมายเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในประเด็นต่าง ๆ สร้างความตระหนัก โน้มน้าวใจ และกระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายกระทำบางอย่าง หรือเปลี่ยนแปลงทัศนคติ หรือพฤติกรรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ชุมชน หมายถึง ชุมชนในพื้นที่เขตบางซื่อ ประกอบด้วยชุมชนในพื้นที่แขวงบางซื่อ และแขวงวงศ์สว่าง จำนวน 50 ชุมชน
- ร้อยละของชุมชนที่ร่วมโครงการมีการดำเนินการ (ร้อยละ 80) - ร้อยละของรายงานผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายของชุมชนที่อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 70) จำนวนชุมชนที่ร่วมโครงการ x 100 หารด้วยจำนวนชุมชนที่กำหนด
จำนวนชุมชนที่ร่วมโครงการมีการดำเนินการ รายงานผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายของชุมชน
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง% |
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก |