รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น : 5033-0796

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00
100
100 / 100
2
80.00
0
0 / 0
3
100.00
0
0 / 0
4
100.00
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการเรียบร้อยแล้ว 2. สำรวจความเหมาะสมของพื้นที่ในการจัดทำโครงการ 3. ขออนุมัติเงินประจำงวดที่ 1 และงวดที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. โครงการบำรุงรักษาปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว – สำรวจความเหมาะสมของพื้นที่ในการจัดทำโครงการและได้รับอนุมัติโครงการเรียบร้อยแล้ว – ดำเนินการขออนุมัติเงินประจำงวดที่ 2 (ก.พ. – พ.ค. 46) – ดำเนินการจัดหาวัสดุตามโครงการโดยวิธี e – bidding ขณะนี้ได้ผู้ประกอบการแล้ว อยู่ระหว่างลงนามในสัญญา กรณีได้รับเงินประจำงวด – ได้รับเงินอนุมัติเงินประจำงวดแล้ว เมื่อเดือนมีนาคม 2564 และลงนามในสัญญา (ใบสั่งซื้อ) เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 ครบกำหนดสัญญาวันที่ 24 มีนาคม 2564 2. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม (7 ประเภท) – ทำการตกลงพื้นที่เป้าหมายกับสำนักสิ่งแวดล้อม 10 ไร่ 2 งาน – ดำเนินการสำรวจพื้นที่ตามเป้าหมายได้แล้ว 7 ไร่ 2 งาน และได้ลงข้อมูลในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของ กทม. แล้ว 3. พื้นที่สีเขียวไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) – สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนดให้ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียว 9 ประเภท 12 แห่ง/ปี – ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียว 9 ประเภท ได้ครบจำนวน 12 แห่ง/ปี และได้ลงข้อมูลในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของ กทม. แล้ว 4. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 80

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. โครงการบำรุงรักษาปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว ดำเนินการจัดหาวัสดุตามโครงการโดยวิธี e-bidding ได้ลงนามในสัญญาและดำเนินการส่งของเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 เพื่อจัดซื้อต้นไม้และวัสดุต่างๆ โดยมีการสำรวจความเหมาะสมของพื้นที่ในการจัดทำโครงการ ได้แก่ ถนนสุขุมวิท ถนนพระราม 4 ถนนรัชดาภิเษก ถนนอาจณรงค์ และสำนักงานเขตคลองเตย รวมทั้งการประดับตกแต่งในกิจกรรมต่างๆ และดำเนินการปลูกต้นไม้ตามโครงการบำรุงรักษาปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียวเรียบร้อยแล้ว 2. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะหรือสวนหย่อม (7 ประเภท) ได้ทำการตกลงพื้นที่เป้าหมายกับสำนักสิ่งแวดล้อม จำนวน 10 ไร่ 2 งาน สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการสำรวจพื้นที่เป้าหมาย และได้ลงข้อมูลครบถ้วนแล้วจำนวน 10 ไร่ 2 งาน ในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของ กทม. 3. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนดให้ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียว 12 แห่ง สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการสำรวจพื้นที่เป้าหมายและได้ลงข้อมูลครบถ้วนแล้ว จำนวน 12 แห่ง ในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ของ กทม. 4. ผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. โครงการบำรุงรักษาปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว ดำเนินการจัดหาวัสดุตามโครงการโดยวิธี e-bidding ได้ลงนามในสัญญาและดำเนินการส่งของเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 เพื่อจัดซื้อต้นไม้และวัสดุต่างๆ โดยมีการสำรวจความเหมาะสมของพื้นที่ในการจัดทำโครงการ ได้แก่ ถนนสุขุมวิท ถนนพระราม 4 ถนนรัชดาภิเษก ถนนอาจณรงค์ และสำนักงานเขตคลองเตย รวมทั้งการประดับตกแต่งในกิจกรรมต่างๆ และดำเนินการปลูกต้นไม้ตามโครงการบำรุงรักษาปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียวเรียบร้อยแล้ว 2. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะหรือสวนหย่อม (7 ประเภท) ได้ทำการตกลงพื้นที่เป้าหมายกับสำนักสิ่งแวดล้อม จำนวน 10 ไร่ 2 งาน สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการสำรวจพื้นที่เป้าหมายและได้ลงข้อมูลครบถ้วนแล้วจำนวน 10 ไร่ 2 งาน ในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของ กทม. 3. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนดให้ดำเนินการสำรวจพื้นที่สีเขียว 12 แห่ง สำนักงานเขตคลองเตยดำเนินการสำรวจพื้นที่เป้าหมายและได้ลงข้อมูลครบถ้วนแล้ว จำนวน 12 แห่ง ในฐานข้อมูลและแบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของ กทม. 4. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

– พื้นที่สีเขียวหมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย 10 ประเภทแยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรปูแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี สำนักงานเขต (เจ้าภาพร่วม) รับผิดชอบ 1. สำรวจ รวบรวม และพัฒนาพื้นที่สีเขียวในส่วนที่รับผิดชอบตามรายละเอียดที่กำหนด 2. นำข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครซึ่งใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดฯ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. กำหนดให้พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ คิดคะแนนประเภทละ 100% รวม 200% 2. เฉลี่ยผลลัพธ์ตามข้อ 1 ให้เหลือร้อยละ 100 3. นำผลที่ได้จากข้อ 2 พิจารณาในส่วนความสมบูรณ์ของข้อมูลใน 3 ส่วนคือ 1) รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละแห่ง 2) ที่ตั้ง 3) ภาพถ่ายทั้งนี้หักข้อละ 1% ของคะแนนที่ได้รับ 4. หลังจากตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์จะเป็นคะแนนที่ได้ของแต่ละ สำนักงานเขต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนได้ตามเป้าหมายที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100 พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนได้ตามเป้าหมายที่กำหนดคิด เป็นร้อยละ 100 - กรณีสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) คิดคะแนนครั้งละ 25 % การตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์ของฐานข้อมูลฯ ของสำนักงานเขต ดำเนินการใน 3 ส่วนสำคัญคือ 1) สถานที่ตั้งสวนฯ บนแผนที่ฐานข้อมูลฯ 2) รายละเอียดพื้นที่สีเขียวรายแห่ง 3) ภาพถ่ายสวนฯ ในโปรแกรมฯ ทั้งนี้ หักข้อละ 1 % ของคะแนนที่ได้รับ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง