ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 85
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
สรุประหว่างเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2562 (รายไตรมาสที่ 1) โครงการนี้เชื่อมโยงกันโครงการบูรณาการการดำเนินงานป้องกันการเกิดอาชญากรรมและโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม เพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่เขตประเวศ สนองตอบนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร ด้านความปลอดภัย และทำให้ประชาชนในพื้นที่เขตมีความเชื่อมั่นในชีวิตและทรัพย์สิน และจะดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าวในช่วงประมาณเดือนกรกฎาคม 2563 คิดเป็นร้อยละ 85
สรุประหว่างเดือนมกราคม – มีนาคม 2563 (รายไตรมาสที่ 2) โครงการนี้เชื่อมโยงกันโครงการบูรณาการการดำเนินงานป้องกันการเกิดอาชญากรรมและโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม เพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่เขตประเวศ สนองตอบนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร ด้านความปลอดภัย และทำให้ประชาชนในพื้นที่เขตมีความเชื่อมั่นในชีวิตและทรัพย์สิน และจะดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าวในช่วงประมาณเดือนกรกฎาคม 2563 คิดเป็นร้อยละ 85
สรุประหว่างเดือนเมษายน – มิถุนายน 2563 (รายไตรมาสที่ 3) โครงการนี้เชื่อมโยงกันโครงการบูรณาการการดำเนินงานป้องกันการเกิดอาชญากรรมและโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม เพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่เขตประเวศ สนองตอบนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร ด้านความปลอดภัย และทำให้ประชาชนในพื้นที่เขตมีความเชื่อมั่นในชีวิตและทรัพย์สิน และจะดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าวในช่วงประมาณเดือนกรกฎาคม 2563 คิดเป็นร้อยละ 85
สรุประหว่างเดือนกรกฎาคม – กันยายน 2563 (รายไตรมาสที่ 4) โครงการนี้เชื่อมโยงกันโครงการบูรณาการการดำเนินงานป้องกันการเกิดอาชญากรรมและโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม เพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่เขตประเวศ สนองตอบนโยบายของผู้บริหารราชการกรุงเทพมหานคร ด้านความปลอดภัย และทำให้ประชาชนในพื้นที่เขตมีความเชื่อมั่นในชีวิตและทรัพย์สิน และจะดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าวในช่วงประมาณเดือนกรกฎาคม-กันยายน 2563 คิดเป็นร้อยละ 100
จุดเสี่ยงภัย หมายถึง จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(รวมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง การปรับ การแก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้า ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง ฯลฯ ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง สำนักเทศกิจและสำนักงานเขต มีการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน และท่าเทียบเรือ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
สำรวจความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่เขตประเวศ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ตรวจจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรมของเจ้าหน้าที่เทศกิจ โดยการทอดแบบสอบถาม จำนวน 1 ครั้ง (ช่วงปลายเดือน ก.ค. 63)
1. จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2. จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3. ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรมและความปลอดภัยทางถนน และบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาจราจรพาน้องข้ามถนน (School care) กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า ฯลฯ 4. ดำเนินการตรวจตราความปลอดภัยบริเวณท่าเทียบเรือ
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |