รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

1. ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสมวัย 2. ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสงสัย ล่าช้าได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา : 5034-931

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 85

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 95

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
95
95 / 100
3
0.00
95
95 / 50
4
0.00
95
95 / 50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ประชุมเตรียมความพร้อมในการสำรวจพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียนทั้ง 9 ศูนย์ ในวันที่ 15 ธันวาคม 2563 ณห้องประชุมชั้น 7 สำนักงานเขตประเวศ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดเตรียมแบบประเมินพัฒนาการและแบบประเมินศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ทั้ง 9 ศูนย์ โดยจะดำเนินการประเมินในเดือนมิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ตรวจเยี่ยมให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน การคัดกรอง การปรับปรุงศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานเลื่อนดำเนินการประเมินเด็ก ทั้ง 9 ศูนย์ ที่จะประเมินในเดือนมิถุนายน 2564 เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการประเมินพัฒนาการเด็กในเดือนกรกฎาคม 2564 -เด็กที่ได้รับการตรวจประเมินและมีพัฒนาการสมวัย จำนวน 542 คน จากจำนวน 546 คน คิดเป็นร้อยละ 99.26 -ส่งเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าเข้าสู่กระบวนการพัฒนาทั้งหมดกับศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 4 คน คิดเป็น ร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

เด็กก่อนวัยเรียน หมายถึง เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อน วัยเรียนกรุงเทพมหานคร พัฒนาการสมวัย หมายถึง มีพัฒนาการทุกด้านเหมาะสมตามวัย ประเมินโดยวิธีสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก ตามแนวทาง DSPM ฉบับสรุปสาระสำคัญจาก DSPM ฉบับสมบูรณ์ พัฒนาการสงสัยล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก ตามแนวทาง DSPMฉบับสรุปสาระสำคัญจาก DSPM ฉบับสมบูรณ์ และผลการตรวจผ่าน ไม่ครบทุกด้าน การเข้าสู่กระบวนการพัฒนา หมายถึง เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการประสานส่งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. เด็กที่ได้รับการตรวจประเมินและพบว่ามีพัฒนาการสมวัย คูณ 100 หารด้วยเด็กที่ได้รับการตรวจประเมินทั้งหมด 2. เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา คูณ 100 หารด้วยเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สิ้นปีงบประมาณดำเนินการประเมินผลพัฒนาการเด็กและผลการนำเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าให้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง