รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ปี 2564 ๒. พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น : 5035-893

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 1

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
18.22
100
100 / 100
2
170.83
100
100 / 100
3
1.00
0
0 / 0
4
1,407.52
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่ กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตาม ประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สี เขียวของ กรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย ๑๐ ประเภท แยกเป็น ๒ ประเภทหลัก ๑. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ ละปี เป้าหมายสำนักงานเขตบางพลัด 3,106 ตร.ม. สำนักงานเขตบางพลัดทำได้ 565.91 ตร.ม. เปอร์เซ็นที่ทำได้เทียบกับเป้าหมาย ร้อยละ 18.22 ๒. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่ น้อยกว่า ๑๒ แห่ง/ปี ปัจจุบันได้ดำเนินการสำรวจแล้วจำนวน 3 จุด 1. ที่ว่างซอยสกุลชัย7 พื้นที่ 0 - 2 - 9 ไร่ 2. พื้นที่ว่างซอยจรัญฯ68 (วัดเทพากร) พื้นที่ 1- 0 -4.81 ไร่ 3. พื้นที่ว่าซอยจรัญฯ 49/1 พื้นที่ 4 - 3 - 5 ไร่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่ กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตาม ประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สี เขียวของ กรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย ๑๐ ประเภท แยกเป็น ๒ ประเภทหลัก ๑. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ ละปี เป้าหมายสำนักงานเขตบางพลัด 3,106 ตร.ม. สำนักงานเขตบางพลัดทำได้ 5,306.07 ตร.ม. เปอร์เซ็นที่ทำได้เทียบกับเป้าหมาย ร้อยละ 170.83 ๒. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่ น้อยกว่า ๑๒ แห่ง/ปี ปัจจุบันได้ดำเนินการสำรวจแล้วจำนวน 3 จุด 1. ที่ว่างซอยสกุลชัย7 พื้นที่ 0 - 2 - 9 ไร่ 2. พื้นที่ว่างซอยจรัญฯ68 (วัดเทพากร) พื้นที่ 1- 0 -4.81 ไร่ 3. พื้นที่ว่าซอยจรัญฯ 49/1 พื้นที่ 4 - 3 - 5 ไร่ 4. ปลูกมะนาวหลังซอยจรัสลาภ พื้นที่ ไร่:0 งาน:2 วา:76.00 5. ที่ว่างใกล้จุดกลับรถบนอุโมงค์แยกบางพลัด ถนนจรัญสนิทวงศ์อยู่่ฝั่งตรงกันข้ามจุดกลับรถบนอุโมงค์แยกบางพลัด มีต้นกล้วยและหญ้า พื้นที่ ไร่:0 งาน:0 วา:93.00 6. ที่ว่างซอย95/1(แยกกระจกเฮงรุ่งศิลป์) พื้นที่ ไร่:2 งาน:3 วา:43.00

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่ กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตาม ประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สี เขียวของ กรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย ๑๐ ประเภท แยกเป็น ๒ ประเภทหลัก ๑. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ ละปี เป้าหมายสำนักงานเขตบางพลัด 400 ตร.ม. สำนักงานเขตบางพลัดทำได้ 5,306.07 ตร.ม. เปอร์เซ็นที่ทำได้เทียบกับเป้าหมาย ร้อยละ 1.348.52 ๒. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่ น้อยกว่า ๑๒ แห่ง/ปี ปัจจุบันได้ดำเนินการสำรวจแล้วจำนวน 10 จุด 1. ที่ว่างซอยสกุลชัย7 พื้นที่ 0 - 2 - 9 ไร่ 2. พื้นที่ว่างซอยจรัญฯ68 (วัดเทพากร) พื้นที่ 1- 0 -4.81 ไร่ 3. พื้นที่ว่าซอยจรัญฯ 49/1 พื้นที่ 4 - 3 - 5 ไร่ 4. ปลูกมะนาวหลังซอยจรัสลาภ พื้นที่ ไร่:0 งาน:2 วา:76.00 5. ที่ว่างใกล้จุดกลับรถบนอุโมงค์แยกบางพลัด ถนนจรัญสนิทวงศ์อยู่่ฝั่งตรงกันข้ามจุดกลับรถบนอุโมงค์แยกบางพลัด มีต้นกล้วยและหญ้า พื้นที่ ไร่:0 งาน:0 วา:93.00 6. ที่ว่างซอย95/1(แยกกระจกเฮงรุ่งศิลป์) พื้นที่ ไร่:2 งาน:3 วา:43.00 7.ที่ว่างเลียบทางรถไฟ(ใกล้ด่านเก็บเงิน)พื้นที่ ไร่:1 งาน:1 วา:82.00 8.ที่ว่างซอยโรงเรียนประมุกวิทยาพื้นที่ ไร่:2 งาน:0 วา:33.00 9.ที่ว่างหลังชุมชนสงวนทรัพย์ พื้นที่ ไร่:1 งาน:0 วา:28.00 10. ที่ว่างซอยจรัญฯ 91 แยก 6 พื้นที่ ไร่:2 งาน 2 วา:18.00

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่ กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตาม ประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สี เขียวของ กรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย ๑๐ ประเภท แยกเป็น ๒ ประเภทหลัก ๑. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ ละปี เป้าหมายสำนักงานเขตบางพลัด 400 ตร.ม. สำนักงานเขตบางพลัดทำได้ 5,630.07 ตร.ม. เปอร์เซ็นที่ทำได้เทียบกับเป้าหมาย ร้อยละ 1.407.52 ๒. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่ น้อยกว่า ๑๒ แห่ง/ปี ปัจจุบันได้ดำเนินการสำรวจครบแล้วจำนวน 12 จุด 1. ที่ว่างซอยสกุลชัย7 พื้นที่ 0 - 2 - 9 ไร่ พิกัดสถานที่ ถนนเลียบทางรถไฟแล้วเลี้ยวซ้ายเข้าวัดเพลงถึงสี่แยกเซเว่นเลี้ยวซ้ายเข้าซอยสกุลชัย7 ประมาณ 300 เมตร หญ้าขึ้นตามธรรมชาติ ต้นกล้วยและอื่นๆ 2. พื้นที่ว่างซอยจรัญฯ68 (วัดเทพากร) พิกัดสถานที่ เลี้ยวซ้ายเข้าถนนจรัญสนิทวงศ 68 เข้าประมาณ 250 เมตร มีหญ้าขึ้น ตามธรรมชาติพื้นที่ 1- 0 -4.81 ไร่ 3. พื้นที่ว่าซอยจรัญฯ 49/1 พิกัดสถานที่ ถนนจรัญฯเลี้ยวซอยเข้าซอยจรัญฯ49/1ไปประมาณ 300 เมตร ใกล้บ้านเลขที่ 165 พบไม้ยืนต้นเช่นต้นหางนกยุง กล้วย และอื่นๆ พื้นที่ 4 - 3 - 5 ไร่ 4. ปลูกมะนาวหลังซอยจรัสลาภ พิกัดสถานที่ บริเวณถนนสิรินธรเลี้ยวเข้าซอยจรัสลาภประมาน 50 เมตร จะพบแปลงปลูกมะนาวในกระถาง พื้นที่ ไร่:0 งาน:2 วา:76.00 5. ที่ว่างใกล้จุดกลับรถบนอุโมงค์แยกบางพลัด พิกัดสถานที่ ถนนจรัญสนิทวงศ์อยู่่ฝั่งตรงกันข้ามจุดกลับรถบนอุโมงค์แยกบางพลัด มีต้นกล้วยและหญ้า พื้นที่ ไร่:0 งาน:0 วา:93.00 6. ที่ว่างซอย95/1(แยกกระจกเฮงรุ่งศิลป์) พิกัดสถานที่ เลี้ยวซ้ายเข้าถนนจรัญฯสนิทวงศ์ประมาณ400เมตรเลี้ยวซ้ายแยกร้านกระจกรุ่งศิล)์ประมาณ50 เมตรพบที่ว่างมีต้นกล้วย ,ไม้ยืนต้น ต้นหญ้าและอื่นๆ พื้นที่ ไร่:2 งาน:3 วา:43.00 7.ที่ว่างเลียบทางรถไฟ(ใกล้ด่านเก็บเงิน) พิกัดสถานที่ ใกล้จุดเก็บเงินทางพิเศษศรีรัช-วงแหวนรอบนอกใกล้ซอยจรัญฯ91 เป็นป่ากระถินและไม้ยืนต้นและหญ้าอื่นๆพื้นที่ ไร่:1 งาน:1 วา:82.00 8.ที่ว่างซอยโรงเรียนประมุกวิทยา พิกัดสถานที่ติดถนนจรัญฯซ.96/3 ใก้ลต่างระดับพระราม7 ปลูกต้นกล้วย และอื่นๆ พื้นที่ ไร่:2 งาน:0 วา:33.00 9.ที่ว่างหลังชุมชนสงวนทรัพย์ พิกัดสถานที่ เลี้ยวซ้ายเข้าซอยจรัญฯ 93/1ตามคลองบางอ้อแล้วเลี้ยวซ้าย ซ.83/1ประมาณ200ม.พบที่ว่างปลูกกล้วยและไม้ยืนต้นและหญ้าตามธรรมชาติ พื้นที่ ไร่:1 งาน:0 วา:28.00 10. ที่ว่างซอยจรัญฯ 91 แยก 6 พิกัดติดถนเลียบทางรถไฟด้านหลังก่อนถึงด่านเก็บเงินซ้ายมือท้ายซอยเป็นชุมชน 91แยก 6 ปลูกกล้วยไม้ยืนต้น ฯลฯพื้นที่ ไร่:2 งาน 2 วา:18.00 11. ที่ว่างซอยวัดดาวดึงษาราม(เอ เอ็น อพาร์ทเม้นท์) พิกัดสถานที่เลี้ยวซอยสมเด็จพระปิ่นเกล้า 2 เลี้ยวขวาจนถึงสน.บางยี่ขันเลี้ยวซ้ายเข้าซอยวัดดาววดึงษาราม ประมาณ 200 เมตร ทางเข้าติดกับเอ เอ็น อาร์พาร์ทเมนท์ ปลูกกล้วยและไม้ยืนต้นอื่นๆพื้นที่ 0 - 2 - 95 ไร่ 12. ที่ว่างซอยสิรินธร 9 พิกัดสถานที่ อยู่ติดถนนสิรินธรเลยทางเข้าม.ภานุวิล่าซอยสิรินธร 9 ป่าหญ้าและเป็นลานที่ดินว่างเปล่า พื้นที่ 2 - 0 - 80 ไร่

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

– พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย ๑๐ประเภท แยกเป็น ๒ ประเภทหลัก คือ ๑. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี ๒. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ ซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า ๑๒ แห่ง/ปี - กรณีข้อ ๒ กรณีหากสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้ว ให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียว ในพื้นที่เขตรวม ๔ ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวนฯ กำหนดแทน รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละประเภท ๑. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวน ๑.๑ ความหมาย คือ พื้นที่ใด ๆ ในแต่ละพื้นที่เขตที่ไม่เคยถูกพัฒนาเป็นสวนหย่อม/สวนสาธารณะ (กำหนดตาม นิยาม ๗ ประเภท ของสำนักงานสวนสาธารณะ สสล.)มาก่อนซึ่ง สนข./สสณ. สสล.พัฒนาเป็นสวนสาธารณะ/ สวนหย่อม ทั้งนี้ อาจเป็นพื้นที่ว่างเปล่า/เกาะกลางถนน/ ริมทาง/ริมคลอง/ใต้ทางด่วน/แนวกำแพงอย่างต่อเนื่อง/ ผนังตึก/รั้ว/สวนบนอาคารสูง ดาดฟ้าอาคาร (Green Roof) ฯลฯ สวนบนอาคารสูง/ดาดฟ้า และสวนแนวดิ่ง นิยามตามที่ระบุไว้ในฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร ๑.๒ การพัฒนาพื้นที่ให้เป็นสวนต้องพัฒนาให้มีพันธุ์ไม้ปกคลุมขนาดตั้งแต่มากกว่าหรือเท่ากับ ๒ ตร.ม. ขึ้นไป โดยเน้นการปลูกไม้ถาวร อาจดำเนินการ ดังต่อไปนี้ ๑.๒.๑ ปลูกพันธุ์ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ๑.๒.๒ จัดทำเป็นพื้นที่สวนสาธารณะ/สวนหย่อม ๑.๒.๓ จัดทำสวนหย่อมในลักษณะสวนบนอาคารสูง(Green Roof) ๑.๒.๔ จัดทำเป็นสวนตามแนวพื้นดินหรือพื้นที่สีเขียวขึ้นตามแนวดิ่ง ๑.๒.๕ จัดทำเป็นสวนป่า หมายถึง การปลูกต้นไม้ในลักษณะเป็นพื้นที่ โดยมีทั้งไม้ ระดับสูง กลาง ระยะปลูกระหว่างต้นเท่ากับ ๔X๔ เมตร ให้คิดเฉลี่ย ๑๐๐ ต้นเป็น พื้นที่ ๑ ไร่ ๑.๒.๖ การปลูกไม้ยืนต้นในลักษณะต่อเนื่องเป็นแนวยาว เช่น ปลูกตามริมถนน ริมคลอง ริมทางเท้า เป็นต้น คิดพื้นที่โดยนำความกว้างของทรงพุ่มคูณความยาวของ ระยะทางที่ปลูก ๑.๓ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวสำนักกงานเขตรับผิดชอบและดำเนินการได้หลายลักษณะ กล่าวคือ ๑.๓.๑ สำนักงานเขตเองดำเนินการในรูปแบบที่ใช้ และไม่ใช้งบประมาณ ๑.๓.๒ สนับสนุนหน่วยราชการอื่นๆ/บริษัท ห้างร้าน เอกชน หรือประชาชน ฯลฯ ให้เป็นผู้ดำเนินการในพื้นที่ของตนเอง ๑.๓.๓ รวบรวมพื้นที่ซึ่งหน่วยงานอื่น บริษัท ห้างร้านเอกชน วัด หมู่บ้าน จัดสรร ฯลฯ ได้มีการดำเนินการ จัดทำเป็นพื้นที่สวนตามนิยามของสวนสาธารณะ ๗ ประเภทไว้แล้ว ๑.๔ สำนักงานเขตจัดทำทะเบียนพื้นที่สวนฯ รายงานเข้าสู่ระบบฯ แบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ ๑.๔.๑ สวนซึ่งสำนักงานเขตดำเนินการเอง ๑.๔.๒ สวนซึ่งดำเนินการโดยหน่วยงานอื่น ๑.๔.๓ อื่น ๆ เช่น หมู่บ้านจัดสรร วัด บริษัท/ห้างร้าน ภาคเอกชน ประชาชน ฯลฯ ๒. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวน ๒.๑ ความหมายคือ พื้นที่สีเขียวตามคำจำกัดความในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๔๖ จำนวน ๙ ประเภท ซึ่งประกอบด้วย ๒.๑.๑ สนามกีฬากลางแจ้ง หมายถึงสนามกีฬา กลางแจ้งที่มีขนาดพื้นที่มากกว่า ๕๐๐ ตร.ม. ขึ้นไป ๒.๑.๒ สนามกอล์ฟ หมายถึง สนามกอล์ฟทุกแห่ง ๒.๑.๓ แหล่งน้ำ หมายถึง สระน้ำ หนองน้ำ บึง ซึ่งมีน้ำท่วมขังนานกว่า ๖ เดือน ต่อปี ที่มีขนาดพื้นที่มากกว่า ๕๐๐ ตร.ม. ขึ้นไปทุกแห่ง ๒.๑.๔ ที่ลุ่ม หมายถึง ที่ลุ่มน้ำท่วมขังมีพืชขึ้นปกคลุม เช่น กก ที่มีขนาดมากกว่า ๕๐๐ ตร.ม. ขึ้นไปทุกแห่ง ๒.๑.๕ ที่ว่าง หมายถึง ที่ว่างหรือที่โล่งที่มีขนาดมากกว่า ๑ ไร่ พื้นที่โล่งหรือพื้นที่รกร้างหรือไม่ได้ใช้ประโยชน์หรือไม่เข้าข่ายพื้นที่ประเภทใดและมีขนาดพื้นที่มากกว่า ๕๐๐ ตร.ม. ๒.๑.๖ พื้นที่ไม้ยืนต้น หมายถึง พื้นที่มีกลุ่มไม้ยืนต้นขึ้นอยู่เป็นส่วนใหญ่ ขนาดพื้นที่ตั้งแต่ ๑ ไร่ขึ้นไป รวมทั้งสวนผลไม้ ๒.๑.๗ พื้นที่เกษตรกรรม หมายถึงพื้นที่เกษตรกรรม เช่น นาข้าว นาหญ้า ๒.๑.๘ พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ หมายถึงพื้นที่บ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ ๒.๑.๙ พื้นที่อื่นๆ หมายถึงพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นพื้นที่สีเขียวเพื่อการนันทนาการและส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น ริมคลอง พื้นที่ใต้หรือข้างทางด่วนหรือทางพิเศษ เป็นต้น สำนักงานเขต (เจ้าภาพร่วม) รับผิดชอบ ๒.๑ สำรวจ รวบรวม และพัฒนาพื้นที่สีเขียวในส่วนที่รับผิดชอบตามรายละเอียดที่กำหนด ๒.๒ นำข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของ กรุงเทพมหานครซึ่งใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดฯ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

๑. กำหนดให้พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบ สวนสาธารณะ คิดคะแนนประเภทละ ๑๐๐ % รวม ๒๐๐% ๒. เฉลี่ยผลลัพธ์ตามข้อ ๑ ให้เหลือร้อยละ ๑๐๐ ๓. นำผลที่ได้จากข้อ ๒ พิจารณาในส่วนความสมบูรณ์ของข้อมูลใน ๓ ส่วน คือ ๑) รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละแห่ง ๒) ที่ตั้ง ๓) ภาพถ่าย ทั้งนี้ หักข้อละ ๑ % ของ คะแนนที่ได้รับ ๔. หลังจากตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์จะเป็นคะแนนที่ได้ของแต่ละสำนักงานเขต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

เอกสารหลักฐาน: -พิจารณาผลสัมฤทธิ์การดำเนินการจาก “โปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” เท่านั้น สำนักงานเขต: ๑. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนได้ตามเป้าหมายที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนได้ตามเป้าหมายที่ กำหนดคิด เป็นร้อยละ ๑๐๐ - กรณีสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้ว ให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม ๔ ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) คิดคะแนนครั้งละ ๒๕ % ๒. การตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์ของฐานข้อมูลฯ ของสำนักงานเขต ดำเนินการใน ๓ ส่วนสำคัญคือ ๑) สถานที่ตั้งสวนฯ บนแผนที่ฐานข้อมูลฯ ๒) รายละเอียดพื้นที่สีเขียวรายแห่ง ๓) ภาพถ่ายสวนฯ ในโปรแกรมฯ ทั้งนี้ หักข้อละ ๑ % ของคะแนนที่ได้รับ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง