ค่าเป้าหมาย แห่ง : 3
ผลงานที่ทำได้ แห่ง : 3
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ดำเนินการสำรวจพื้นที่เพื่อดำเนินการตามโครงการ พร้อมจัดทำรายงานผู้บริหารทุกเดือน
เดือนมกราคม 2564 ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 1 แห่ง ดังนี้ - สวนหย่อมบริเวณพื้นที่ว่างของกรุงเทพมหานครข้างคลองด่าน ถนนเอกชัย ขนาดพื้นที่ 72 ตรว.
เดือนมีนาคม ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 2 แห่่ง ดังนี้ - สวนหย่อมสถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน ถ.กำนันแม้น ขนาดพื้นที่ 20 ตรว. - สวนหย่อมร้านส้มตำบ้านสวน ถนนรัตนกวี ขนาดพื้นที่ 50 ตรว. สรุปผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2564 ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวทั้งหมด 3 แห่ง คือ 1. สวนหย่อมบริเวณพื้นที่ว่างของกรุงเทพมหานครข้างคลองด่าน ถนนเอกชัย ขนาดพื้นที่ 72 ตรว. 2. สวนหย่อมสถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน ถนนกำนันแม้น ขนาดพื้นที่ 20 ตรว. 3. สวนหย่อมร้านส้มตำบ้านสวน ถนนรัตนกวี ขนาดพื้นที่ 50 ตรว.
ผลการดำเนินงานเพิ่มพื้นที่สีเขียวปีงบประมาณ 2564 ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวทั้งหมด 3 แห่ง คือ 1. สวนหย่อมบริเวณพื้นที่ว่างของกรุงเทพมหานครข้างคลองด่าน ถนนเอกชัย ขนาดพื้นที่ 72 ตรว. 2. สวนหย่อมสถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน ถนนกำนันแม้น ขนาดพื้นที่ 20 ตรว. 3. สวนหย่อมร้านส้มตำบ้านสวน ถนนรัตนกวี ขนาดพื้นที่ 50 ตรว.
พื้นที่สีเขียวหมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย 10 ประเภทแยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อมให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจรวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี
A=B/C A=สัดส่วนพื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวนต่อประชากร (ตร.ม./คน) B=พื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวนเมื่อสิ้นเดือน ก.ย.ของปีที่ตรวจประเมินผล (ตร.ม.)
ผลการดำเนินงานจำแนกตามช่วงเวลาการประเมินผล ระยะครึ่งปีงบประมาณ ร้อยละ20 สิ้นปีงบประมาณ ร้อยละ100
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่ |