รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

จำนวนครั้งในการออกตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขต : 5036-1101

ค่าเป้าหมาย ครั้ง/ปี : 0

ผลงานที่ทำได้ ครั้ง/ปี : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
45.00
0
0 / 0
3
65.00
0
0 / 0
4
100.00
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เพื่อการเสริมสร้างสุขาภิบาลเมืองที่ดี ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชน เดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2563 จำนวน 8 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เพื่อการเสริมสร้างสุขาภิบาลเมืองที่ดี ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชน เดือน ต.ค. 2563 - มี.ค.2564 จำนวน 23 ครั้ง 2.การดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 เดือน ธ.ค.63 - มี.ค.64จำนวน 23 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เพื่อการเสริมสร้างสุขาภิบาลเมืองที่ดี ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชน เดือน ต.ค. 2563 - มิ.ย.2564 จำนวน 34 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เพื่อการเสริมสร้างสุขาภิบาลเมืองที่ดี ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชน เดือน ต.ค. 2563 - ก.ย.64 จำนวน 48 ครั้ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หมายถึง 1) ตรวจสอบเหตุรำคาญ ปัญหาทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนามัยสิ่งแวดล้อม ที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชน เช่น ปัญหาเสียงดัง กลิ่นเหม็น การเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ซึ่งประชาชนได้รับความเดือดร้อนรำคาญในเวลาเย็น กลางคืน หรือยามวิกาล 2) ตรวจสอบด้านสุขลักษณะ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบการ แรงงานนอกระบบ หรือแรงงานในชุมชน ๓) ตรวจสอบสถานประกอบการและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อแนะนำ ให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคของกรุงเทพมหานคร 4) ปฏิบัติภารกิจในงานสาธารณสุขและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในภาวะวิกฤติ ฉุกเฉิน เร่งด่วน เช่น การให้บริการเผยแพร่ความรู้ด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรค การตรวจสอบ ควบคุมจัดการ ตอบโต้เหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย เป็นต้น ๕) ปฏิบัติงานสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรคในกรณีจำเป็นต้องปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ๖) ตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ตรวจวัดมลพิษสิ่งแวดล้อมจากแหล่งกำเนิดประเภทต่างๆ เช่น การเผาศพ เป็นต้น หรือการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย ๗) ปฏิบัติงานกรณีเร่งด่วนตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

นับจำนวนครั้งในการออกตรวจ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร%
:๑.๖.๑.๕ สถานประกอบการที่มีความเสี่ยงสูงได้มาตรฐานด้านอาชีวอนามัย

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง