ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ปฏิงานนอกเวลาราชการ โครงการกรุงเทพฯ ปลอดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 6 ครั้ง และ จัดกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน จำนวน 6 ชุมชน
ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 1 การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ โครงการกรุงเทพฯ ปลอดลูกน้ำยุงลาย เรียบร้อยแล้ว จำนวน 23 ครั้ง ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 2 การสรุปและจัดทำรายงานการดำเนินกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานของชุมชน เรียบร้อยแล้วจำนวน 5 ครั้ง ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 3 การดำเนินการจัดกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานในชุมชน เรียบร้อยแล้ว จำนวน 12 ชุมชน
ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 1 การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ โครงการกรุงเทพฯ ปลอดลูกน้ำยุงลาย เรียบร้อยแล้ว จำนวน 42 ครั้ง ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 2 การสรุปและจัดทำรายงานการดำเนินกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานของชุมชน เรียบร้อยแล้วจำนวน 5 ครั้ง ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 3 การดำเนินการจัดกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานในชุมชน เรียบร้อยแล้ว จำนวน 18 ชุมชน
1.ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 1 การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ (ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านสาธารณสุขในสังกัดกรุงเทพมหานคร) จำนวน 48 ครั้ง ครบแล้ว ในเดือนธันวาคม 2563 - เดือนกรกฎาคม 2564 2.ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 2 การสรุปและจัดทำรายงานการดำเนินกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานของชุมชน (ค่าอาหารทำการนอกเวลา) จำนวน 5 ครั้ง ครบแล้ว จำนวน ในเดือนมีนาคม 2564 3.ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 3 การดำเนินการจัดกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานพาหะนำโรคแบบผสมผสาน จำนวน 48 ชุมชน (ชุมชนละ 3 ครั้ง) รวมทั้งสิ้น 144 ครั้ง ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว จำนวน 72 ครั้ง ในเดือนธันวาคม 2563 และเดือนมีนาคม - เมษายน 2564 การดำเนินงานไม่ครบถ้วนเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
เป็๋นโครงการเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก รวมทั้งรณรงค์ประชาสัมพันธ์ปลูกจิตสำนึกให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถป้องกันโรคได้ด้วยตนเอง
จำนวนชุมชนที่ร่วมโครงการคูณ100หารด้วยจำนวนชุมชนในเขตจอมทองทั้งหมด เท่ากับ 48 ชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
รายงานผลการรณรงค์ (การจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน)
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร% |
:๑.๖.๑.๕ สถานประกอบการที่มีความเสี่ยงสูงได้มาตรฐานด้านอาชีวอนามัย |