รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

- การสำรวจพื้นที่เสี่ยงภัยหรือพื้นที่เสี่ยงอันตรายและจัดทำแผนติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างเพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่เสี่ยงฯ - ร้อยละของความสำเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง ในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กำหนด : 5038-0738

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 80

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
70.00
100
100 / 100
4
80.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการสำรวจพื้นที่เสี่ยงภัยหรือพื้นที่เสี่ยงอันตรายและจัดทำแผนติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างเพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่เสี่ยง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น มีการร้องเรียนจากประชาชน หนังสือพิมพ์ หรือสื่อ ONLINE -สำรวจ ตรวจสอบ บริเวณที่มีการร้องเรียน หรือบริเวณพื้นที่ในเขตสวนหลวงที่ควรจะดำเนินการ -จัดทำแผนการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างประจำปี สำรวจ ตรวจสอบ บริเวณพื้นที่ในเขตสวนหลวง ตามแผนที่กำหนด -ดำเนินการรวบรวมข้อมูล พร้อมภาพถ่าย จัดทำหนังสือแจ้งการไฟฟ้านครหลวงดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง -จัดทำหนังสือแจ้งหน่วยงานสาธารณูปโภคอื่น หรือภาคเอกชน กรณีมีเหตุที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานนั้น และจัดทำรายงานส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สำนักการโยธา) แผนติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 111 ดวง แผนการซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 165 ดวง ผลการซ่อมแซม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2562 การไฟฟ้านครหลวงดำเนินการซ่อมแซมแล้ว 26 ดวง และผลการซ่อมแซมในเดือนเมษายน 2562 จำนวน 150 ดวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น มีการร้องเรียนจากประชาชน หนังสือพิมพ์ หรือสื่อ ONLINE -สำรวจ ตรวจสอบ บริเวณที่มีการร้องเรียน หรือบริเวณพื้นที่ในเขตสวนหลวงที่ควรจะดำเนินการ -จัดทำแผนการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างประจำปี สำรวจ ตรวจสอบ บริเวณพื้นที่ในเขตสวนหลวง ตามแผนที่กำหนด -ดำเนินการรวบรวมข้อมูล พร้อมภาพถ่าย จัดทำหนังสือแจ้งการไฟฟ้านครหลวงดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง -จัดทำหนังสือแจ้งหน่วยงานสาธารณูปโภคอื่น หรือภาคเอกชน กรณีมีเหตุที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานนั้น และจัดทำรายงานส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สำนักการโยธา) แผนติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 111 ดวง แผนการซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 249 ดวง ผลการซ่อมแซม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนมิถุนายน 2562 การไฟฟ้านครหลวงดำเนินการซ่อมแซมแล้ว จำนวน 213 ดวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-แผนติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 111 ดวง แผนการซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 278 ดวง ผลการซ่อมแซม การไฟฟ้านครหลวงดำเนินการซ่อมแซมแล้ว 223 ดวง คิดเป็นร้อยละ 80

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

- พื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายหมายถึง ถนน ตรอก ซอย หรือพื้นที่/อาคารรกร้าง ว่างเปล่า ที่เสี่ยงหรือล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมการกระทำผิดกฎหมาย หรือเหตุการณ์ / การกระทำใดๆ ที่เป็นอันตรายต่อชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ทั้งนี้ สำนักงานเขตจะต้องสำรวจพื้นที่เสี่ยงภัยฯ ในพื้นที่รับผิดชอบ ระบุสภาพปัญหาและจัดทำแผนดำเนินการติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง - ความสำเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กำหนด หมายถึง ความสำเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง หรือที่ได้แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการฯ ในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กำหนด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ความสำเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างฯ เท่ากับจำนวนดวงไฟที่มีการติดตั้ง/ซ่อมแซมหรือที่ได้แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการฯ ในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กำหนด คูณด้วย ๑๐๐ หารด้วยจำนวนดวงไฟทั้งหมดที่อยู่ในแผนที่ต้องดำเนินการติดตั้ง/ซ่อมแซมในพื้นที่เสี่ยงภัยฯ จำนวนดวงไฟที่มีการติดตั้ง/ซ่อมแซม/แจ้งหน่วยงานดำเนินการ x ๑๐๐ จำนวนดวงไฟทั้งหมดที่อยู่ในแผนที่ต้องดำเนินการฯ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

จัดทำแผนติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างเพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่เสี่ยงฯ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง