ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ดำเนินการจัดทำแผนจัดกิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออก ครบ 4 กิจกรรม ทั้ง 45 ชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวง
ดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ครบ 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่1 มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน กิจกรรมที่ 2 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชุน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ทางหอกระจายข่าว เอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมที่ 3 มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค กิจกรรมที่ 4 ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว โดยใช้มาตรการเร่งด่วน สำหรับการควบคุมการระบาด
ดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ครบ 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่1 มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน กิจกรรมที่ 2 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชุน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ทางหอกระจายข่าว เอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมที่ 3 มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค กิจกรรมที่ 4 ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว โดยใช้มาตรการเร่งด่วน สำหรับการควบคุมการระบาด
-ดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ครบ 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่1 มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน กิจกรรมที่ 2 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชุน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ทางหอกระจายข่าว เอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมที่ 3 มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค กิจกรรมที่ 4 ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว โดยใช้มาตรการเร่งด่วน สำหรับการควบคุมการระบาด คิดเป็นร้อยละ 100
- กิจกรรมป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ครบ ๔ กิจกรรม หมายถึง ชุมชนที่จดทะเบียนที่ได้ดำเนินกิจกรรมป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก (๔ กิจกรรม) ได้แก่ กิจกรรมที่ ๑. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน กิจกรรมที่ ๒. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าว เอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมที่ ๓. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค กิจกรรมที่ ๔. ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมโรคภายใน ๒๔ ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว โดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ ๔.๑) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (๔.๒) ขอให้ประชาชนให้ความร่วมมือกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมดไป (๔.๓) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย ๑๐๐ เมตร (๔.๔) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ (ค่า HI < ๑๐) (๔.๕) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย ๑๐๐ เมตร อย่างน้อย ๒ ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน ๗ วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน หากมีชุมชนที่อยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนใกล้เคียงด้วย
จำนวนชุมชนที่จดทะเบียนที่มีกิจกรรมการป้องกัน โรคไข้เลือดออก ครบ ๔ กิจกรรม x ๑๐๐ จำนวนชุมชนที่จดทะเบียนทั้งหมดในพื้นที่เขต
1.รายงานการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธู์ยุงลาย/ภาพถ่าย 2.รณรงค์การทำกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก จำนวน 4 กิจกรรม/ภาพถ่าย 3.การฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง% |
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก |