รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น : 5038-0742

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
90.00
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตสวนหลวงให้ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดบการปลูกซ่อมแซมไม้ยืนต้นบริเวณทางเท้า พร้อมทั้งซ่อมแซมคอกต้นไม้ยืนต้นถนนอ่อนนุช ทั้ง 2 ฝั่ง -อยู่ระหว่างดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการปลูกซ่อมแซมไม้ประดับสวนถนนบริเวณทางเท้าถนนรามคำแหงทั้ง 2 ฝั่ง -อยู่ระหว่างดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการปลูกซ่อมแซมไม้ยืนต้นบริเวณทางเท้าถนนคู่ขนานมอเตอร์เวย์ทั้ง 2 ฝั่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการปลูกซ่อมแซมไม้ยืนต้นบริเวณทางเท้า พร้อมทั้งซ่อมแซมคอกต้นไม้ยืนต้นถนนอ่อนนุช ทั้ง 2 ฝั่ง -ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการปลูกซ่อมแซมไม้ประดับสวนถนนบริเวณทางเท้าถนนรามคำแหงทั้ง 2 ฝั่ง -ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการปลูกซ่อมแซมไม้ยืนต้นบริเวณทางเท้าถนนคู่ขนานมอเตอร์เวย์ทั้ง 2 ฝั่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการปลูกซ่อมแซมไม้ยืนต้นบริเวณทางเท้า พร้อมทั้งซ่อมแซมคอกต้นไม้ยืนต้นถนนอ่อนนุช ทั้ง 2 ฝั่ง -ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการปลูกซ่อมแซมไม้ประดับสวนถนนบริเวณทางเท้าถนนรามคำแหงทั้ง 2 ฝั่ง -ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการปลูกซ่อมแซมไม้ยืนต้นบริเวณทางเท้าถนนคู่ขนานมอเตอร์เวย์ทั้ง 2 ฝั่ง สรุปผลการดำเนินงานได้ตามเป้าหมายที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

- พื้นที่สีเขียวหมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย ๑๐ ประเภทแยกเป็น ๒ ประเภทหลัก

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

คือ ๑. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี ๒. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจรวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า ๑๒ แห่ง/ปี •กรณีข้อ ๒ กรณีหากสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม ๔ ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวนกำหนดแทน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-รายงานผลการแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตสวนหลวง/ภาพถ่าย

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง