ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ดำเนินการตรวจสถานบันเทิงเป็นประจำทุกเดือนและตรวจสอบอาคารเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตสวนหลวงตามแผนที่กำหนด
-ดำเนินการตรวจสถานบันเทิงเป็นประจำทุกเดือนและตรวจสอบอาคารเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตสวนหลวงตามแผนที่กำหนด -ตรวจสอบข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย คือ อาคารที่เข้าข่าย 9 ประเภท เช่น อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุมชน โรงมหรสพ โรงแรม อาคารโรงงาน อาคารชุดป้าย สถานบริการ ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตสวนหลวง 2.จัดทำแผนการตรวจอาคารเสี่ยงภัย ตรวจ 2 ครั้ง/ปี พร้อมตารางการตรวจอาคารสาธารณะ หมายถึง อาคารที่ใช้ประโยชน์ในการชุมนุมได้โดยทั่วไป เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม หอสมุด โรงพยาบาล สถานศึกษา สนามกีฬา ห้างสรรพสินค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีจอดรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น ซึ่งเป็นอาคารที่เสี่ยงภัยได้รับการตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามที่กฎหมายกำหนดจากสำนักป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยและสำนักงานเขต โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ อาคารที่สร้างก่อนกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) และอาคารที่สร้างภายหลังกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) 2. จัดทำแผนการตรวจอาคารเสี่ยงภัย ตรวจ 2 ครั้ง/ปี พร้อมตารางการตรวจ (ครั้งที่ 2 เริ่ม เดือน กรกฎาคม 2562) 3. แจ้งหน่วยงานร่วมตรวจ เช่น สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล เข้าตรวจ 4. เข้าตรวจร่วมกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานข้างต้น 5. เมื่อตรวจแล้ว รวบรวมข้อมูลรายงานเจ้าพนักงานท้องถิ่น (ผู้อำนวยการเขต) ทราบ 6. จัดทำหนังสือแจ้งเจ้าของอาคาร หากพบว่าต้องมีการแก้ไข ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ตรวจสอบสถานบันเทิงและอาคารเสี่ยงภัย จำนวน 6 แห่ง (ตรวจสถานบันเทิงและอาคารเสี่ยงภัยเดือนละครั้ง) ไม่พบสถานบันเทิงและอาคารเสี่ยงภัยที่ทำผิดกฎหมาย
-สำรวจ ตรวจสอบอาคารเสี่ยงภัย และระบบอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย รวมรวบข้อมูล จัดทำแผนงาน/โครงการ และ ดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในแผนงาน/โครงการ หากพบผู้กระทำผิดหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย แจ้งให้แก้ไข พร้อมให้คำแนะนำ ดำเนินการตามขั้นตอน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการรายงานผู้บริหารทราบต่อไป -ดำเนินการตรวจสถานบันเทิงเป็นประจำทุกเดือนและตรวจสอบอาคารเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตสวนหลวงตามแผนที่กำหนด -ตรวจสอบข้อมูลอาคารเสี่ยงภัย คือ อาคารที่เข้าข่าย 9 ประเภท เช่น อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุมชน โรงมหรสพ โรงแรม อาคารโรงงาน อาคารชุดป้าย สถานบริการ ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตสวนหลวง 2.จัดทำแผนการตรวจอาคารเสี่ยงภัย ตรวจ 2 ครั้ง/ปี พร้อมตารางการตรวจอาคารสาธารณะ หมายถึง อาคารที่ใช้ประโยชน์ในการชุมนุมได้โดยทั่วไป เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม หอสมุด โรงพยาบาล สถานศึกษา สนามกีฬา ห้างสรรพสินค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีจอดรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น ซึ่งเป็นอาคารที่เสี่ยงภัยได้รับการตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามที่กฎหมายกำหนดจากสำนักป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยและสำนักงานเขต โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ อาคารที่สร้างก่อนกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) และอาคารที่สร้างภายหลังกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) 2. จัดทำแผนการตรวจอาคารเสี่ยงภัย ตรวจ 2 ครั้ง/ปี พร้อมตารางการตรวจ (ครั้งที่ 2 เริ่ม เดือน กรกฎาคม 2562) 3. แจ้งหน่วยงานร่วมตรวจ เช่น สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล เข้าตรวจ 4. เข้าตรวจร่วมกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานข้างต้น 5. เมื่อตรวจแล้ว รวบรวมข้อมูลรายงานเจ้าพนักงานท้องถิ่น (ผู้อำนวยการเขต) ทราบ 6. จัดทำหนังสือแจ้งเจ้าของอาคาร หากพบว่าต้องมีการแก้ไข ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ตรวจสอบสถานบันเทิงและอาคารเสี่ยงภัย จำนวน 9 แห่ง (ตรวจสถานบันเทิงและอาคารเสี่ยงภัยเดือนละครั้ง) ไม่พบสถานบันเทิงและอาคารเสี่ยงภัยที่ทำผิดกฎหมาย
-ดำเนินการตรวจสอบอาคารในพื้นที่เขตสวนหลวง ให้มีการติดตั้งระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย จำนวน 92 แห่ง ดำเนินการตรวจสอบอาคาร เรียบร้อยทั้ง 92 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100
- อาคารสาธารณะ หมายถึง อาคารที่ใช้ประโยชน์ในการชุมนุมได้โดยทั่วไป เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม หอสมุด โรงพยาบาล สถานศึกษา สนามกีฬา ห้างสรรพสินค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีจอดรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น ซึ่งเป็นอาคารที่เสี่ยงภัยได้รับการตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามที่กฎหมายกำหนดจาก สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและสำนักงานเขต โดยแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ อาคารที่สร้างก่อนกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๓๕) และ อาคารที่สร้างภายหลังกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๓๕)
จำนวนอาคารเสี่ยงภัยที่ตรวจสอบมีระบบการป้องกันอัคคีภัยเป็นไปตามกฎหมายคูณ ๑๐๐ หารด้วยจำนวนอาคารเสี่ยงภัยที่ออกตรวจสอบทั้งหมด
-แผนการตรวจสอบอาคารเสี่ยงภัย -รายงานการตรวจสอบอาคารเสี่ยงภัยที่ตรวจสอบมีระบบการป้องกันอัคคีภัยเป็นไปตามกฎหมาย / ภาพถ่าย
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๕ - สิ่งก่อสร้างปลอดภัย |
:๑.๕.๑ กรุงเทพมหานครมีความปลอดภัยต่อการใช้งานอาคารสาธารณะ ปลอดจากอุบัติภัยจาก สิ่งปลูกส% |
:๑.๕.๑.๑ ลดจำนวนอุบัติภัยอันเกิดจากสิ่งก่อสร้างประเภทอาคาร |