รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของชุมชนในพื้นที่เขตมีการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน : 5038-0762

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 50

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 51.11

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
60.00
100
100 / 100
4
51.11
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการส่งเสริมการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนให้แก่ชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 45 ชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ประชาสัมพันธ์กระตุ้นให้ชุมชนจัดทำแผนพัฒนาชุมชนเพื่อรองรับการเบิกจ่ายเงินค่าสนับสนุนคณะกรรมการชุมชนประจำเดือน และดำเนินการส่งเสริมการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนให้แก่ชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 45 ชุมชน -จัดทำชุดเอกสารที่แสดงให้เห็นสถานการณ์ สภาพปัญหา หรือความต้องการของชุมชน แนวทางการแก้ไข ในแต่ละชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ประชาสัมพันธ์กระตุ้นให้ชุมชนจัดทำแผนพัฒนาชุมชนเพื่อรองรับการเบิกจ่ายเงินค่าสนับสนุนคณะกรรมการชุมชนประจำเดือน และดำเนินการส่งเสริมการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนให้แก่ชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 45 ชุมชน -จัดทำชุดเอกสารที่แสดงให้เห็นสถานการณ์ สภาพปัญหา หรือความต้องการของชุมชน แนวทางการแก้ไข ในแต่ละชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ประชาสัมพันธ์กระตุ้นให้ชุมชนจัดทำแผนพัฒนาชุมชนให้แก่ชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 45 ชุมชน -จัดทำชุดเอกสารที่แสดงให้เห็นสถานการณ์ สภาพปัญหา หรือความต้องการของชุมชน แนวทางการแก้ไข ในแต่ละชุมชน โดยมีชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวงที่จัดทำแผนพัฒนาชุมชน จำนวน 23 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 51.11

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

๑. ชุมชน หมายถึง ชุมชนตามระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ (ชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวงมีจำนวน ๔๕ ชุมชน) ๒. แผนพัฒนาชุมชน หมายถึง ชุดของเอกสารที่แสดงให้เห็นสถานการณ์ สภาพปัญหา หรือความต้องการของชุมชน แนวทางการแก้ไข โครงการ/กิจกรรม และงบประมาณที่ใช้ในการดำเนินงานของแต่ละชุมชน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวงที่จัดทำแผนพัฒนาชุมชน หาร จำนวนชุมชนทั้งหมดในพื้นที่เขตสวนหลวง (45 ชุมชน) คูณ 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-การจัดทำแผนพัฒนาชุมชนของชุมชนในพื้นที่เขตสวนหลวง /ภาพถ่ายกิจกรรม -การเปิดเวทีประชาคมในชุมชน / ภาพถ่าย

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City
:๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล
:๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง%
:๕.๒.๑.๑ รับฟังความคิดเห็นของประชาชนผ่าน “สภาประชาชนกรุงเทพมหานคร”

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง