ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 95
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 101.2
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
-ดำเนินการเร่งรัดการจัดเก็บภาษีทั้ง 3 ประเภทให้ได้ตามประมาณการที่กรุงเทพมหานครกำหนด -ดำเนินการตรวจสอบรายชื่อผู้ต้องเสียภาษีทั้ง 3 ประเภทของเขตสวนหลวง ประจำปี 2562 เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการดำเนินการในช่วงเดือนมกราคม-เมษายน 2562
ดำเนินการเร่งรัดการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่สำนักการคลัง กรุงเทพมหานครกำหนด สถิติการจัดเก็บภาษี 3 ประเภท ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562 สรุปได้ดังนี้ 1.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ประมาณการรายรับ 213,000,000 บาท ยอดประเมิน 1,996 ราย จำนวนเงิน 135,583,120 บาท คิดเป็นร้อยละ 63.65 ผลการจัดเก็บ 1,958 ราย จำนวนเงิน 101,766,739.05 บาท คิดเป็นร้อยละ 47.78 2.ภาษีบำรุงท้องที่ ประมาณการรายรับ 5,000,000 บาท ยอดประเมิน 466 ราย จำนวนเงิน 711,890.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 14.24 ผลการจัดเก็บ 3,144 ราย จำนวนเงิน 2,700,334.64 บาท คิดเป็นร้อยละ 54.01 3.ภาษีป้าย ประมาณการรายรับ 22,500,000 บาท ยอดประเมิน 1,578 ราย จำนวนเงิน 17,411,875 บาท คิดเป็นร้อยละ 77.39 ผลการจัดเก็บ 1,459 ราย จำนวนเงิน 12,810,361.44 บาท คิดเป็นร้อยละ 48.76
ดำเนินการเร่งรัดการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่สำนักการคลัง กรุงเทพมหานครกำหนด 1. ดำเนินการเร่งรัดการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่สำนักการคลัง กรุงเทพมหานครกำหนด ซึ่งผลการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 31 พฤษภาคม 2562 มีรายละเอียดดังนี้ (1) ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เป้าหมายการจัดเก็บ 213,000,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 2,636 ราย เป็นเงิน 175,200,475.51 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 3,078 ราย เป็นเงิน 170,344,503.77 บาท คิดเป็นร้อยละ 79.97 (2) ภาษีบำรุงท้องที่ เป้าหมายการจัดเก็บ 5,000,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 637 ราย เป็นเงิน 1,028,300.80 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 4,333 ราย เป็นเงิน 4,159,579.74 บาท คิดเป็นร้อยละ 83.19 (3) ภาษีป้าย เป้าหมายการจัดเก็บ 22,500,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 1,893 ราย เป็นเงิน 20,686,685 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 2,002 ราย เป็นเงิน 19,933,621.75 บาท คิดเป็นร้อยละ 88.59 2. การจัดเก็บภาษีค้างชำระทั้ง 3 ประเภท (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย) ณ 30 กันยายน 2561 ภาษีโรงเรือนและที่ดิน มียอดค้างชำระ จำนวน 16 ราย เป็นเงิน 4,112,853.04 บาท ชำระแล้ว 10 ราย เป็นเงิน 524,189.02 บาท ภาษีบำรุงท้องที่ มียอดลูกหนี้ค้างชำระ 23 ราย เป็นเงิน 8,000.90 บาท ชำระแล้ว 23 ราย เป็นเงิน 8,000.90 บาท ภาษีป้าย ไม่มียอดลูกหนี้ ค้างชำระ รวมยอดลูกหนี้ค้างชำระที่ชำระเงินแล้ว จำนวน 33 ราย เป็นเงิน 532,189.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 12.94 หมายเหตุ : ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวนรายคงเหลือเท่าเดิม เนื่องจากรายที่ชำระเงินเป็นรายที่ผ่อนชำระบางส่วน
1. ดำเนินการเร่งรัดการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่สำนักการคลัง กรุงเทพมหานครกำหนด ซึ่งผลการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 23 กันยายน 2562 มีรายละเอียดดังนี้ (1) ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เป้าหมายการจัดเก็บ 213,000,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 3,102 ราย เป็นเงิน 217,459,268.69 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 3,701 ราย เป็นเงิน 217,343,717.33 บาท คิดเป็นร้อยละ 102.04 (2) ภาษีบำรุงท้องที่ เป้าหมายการจัดเก็บ 5,000,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 827 ราย เป็นเงิน 1,410,574.45 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 5,653 ราย เป็นเงิน 5,436,311.27 บาท คิดเป็นร้อยละ 108.73 (3) ภาษีป้าย เป้าหมายการจัดเก็บ 22,500,000 บาท ยอดประเมิน จำนวน 2,032 ราย เป็นเงิน 22,882,637.50 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 2,216 ราย เป็นเงิน 23,493,351.59 บาท คิดเป็นร้อยละ 104.41 2. การจัดเก็บภาษีค้างชำระทั้ง 3 ประเภท (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย) ณ 30 กันยายน 2561 ภาษีโรงเรือนและที่ดิน มียอดค้างชำระ จำนวน 13 ราย เป็นเงิน 2,097,794.16 บาท หักลูกหนี้ราย บริษัท สุขไทยอพาร์ตเม้นท์ จำกัด จำนวนเงิน 1,278,375 บาท เนื่องจากส่งรายงานการสืบสวนหาทรัพย์สินให้กองรายได้แล้ว คงเหลือยอดค้างชำระ 819,419.16 บาท 12 ราย ชำระแล้ว 10 ราย เป็นเงิน 510,940.94 บาท ภาษีบำรุงท้องที่ มียอดลูกหนี้ค้างชำระ 23 ราย เป็นเงิน 8,000.90 บาท ชำระแล้ว 23 ราย เป็นเงิน 8,000.90 บาท ภาษีป้าย ไม่มียอดลูกหนี้ค้างชำระ รวมยอดลูกหนี้ค้างชำระที่ชำระเงินแล้ว จำนวน 33 ราย เป็นเงิน 518,941.84 บาท คิดเป็นร้อยละ 63.33
-ภาษี ๓ ประเภท หมายถึง ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย และภาษีบำรุงท้องที่ -ภาษีค้างชำระหมายถึงยอดภาษีค้างชำระ ๓ ประเภท (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย และภาษีบำรุงท้องที่) ณ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ หักภาษีค้างชำระที่หน่วยงานไม่สามารถยึดอายัดตามระเบียบได้ตามยอดที่สำนักการคลังแจ้ง
ภาษี ๓ ประเภท วิธีการคำนวณ ๑. สนข. สามารถจัดเก็บภาษี รวม ๓ ประเภท ได้ตั้งแต่ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ ได้ ๕ คะแนน ๒. สนข. สามารถจัดเก็บภาษีรวม ๓ ประเภทได้ตั้งแต่ร้อยละ ๙๐ แต่ไม่ถึงร้อยละ ๙๕ ได้ ๔ คะแนน ๓. สนข. สามารถจัดเก็บภาษีรวม ๓ ประเภทได้ตั้งแต่ร้อยละ ๙๕ แต่ไม่ถึงร้อยละ ๙๐ ได้ ๓ คะแนน ๔. สนข. สามารถจัดเก็บภาษีรวม ๓ ประเภทได้ตั้งแต่ร้อยละ ๘๐ แต่ไม่ถึงร้อยละ ๘๕ ได้ ๒ คะแนน ๕. สนข. สามารถจัดเก็บภาษีรวม ๓ ประเภทได้น้อยกว่า ร้อยละ ๗๕ แต่ไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ได้ ๑ คะแนน วิธีการคำนวณ ๑. สำนักงานเขตสามารถจัดเก็บภาษีค้างชำระได้ตั้งแต่ร้อยละ ๒๕ ของยอดภาษีค้างชำระ ได้คะแนน ๕ คะแนน ๒. สำนักงานเขตสามารถจัดเก็บภาษีค้างชำระได้ตั้งแต่ร้อยละ ๒๐ แต่ไม่ถึงร้อยละ ๒๕ ของยอดภาษีค้างชำระ ได้คะแนน ๔ คะแนน ๓. สำนักงานเขตสามารถจัดเก็บภาษีค้างชำระได้ตั้งแต่ร้อยละ ๑๕ แต่ไม่ถึงร้อยละ ๒๐ ของยอดภาษีค้างชำระ ได้คะแนน ๓ คะแนน ๔. สำนักงานเขตสามารถจัดเก็บภาษีค้างชำระได้ตั้งแต่ร้อยละ ๑๐ แต่ไม่ถึงร้อยละ ๑๕ ของยอดภาษีค้างชำระ ได้คะแนน ๒ คะแนน ๕. สำนักงานเขตสามารถจัดเก็บภาษีค้างชำระได้ไม่ถึงร้อยละ ๑๐ ได้คะแนน ๑ คะแนน ภาษีค้างชำระหมายถึงยอดภาษีค้างชำระ ๓ ประเภท วิธีการคำนวณ ๑. สำนักงานเขตสามารถจัดเก็บภาษีค้างชำระได้ตั้งแต่ร้อยละ ๒๕ ของยอดภาษีค้างชำระ ได้คะแนน ๕ คะแนน ๒. สำนักงานเขตสามารถจัดเก็บภาษีค้างชำระได้ตั้งแต่ร้อยละ ๒๐ แต่ไม่ถึงร้อยละ ๒๕ ของยอดภาษีค้างชำระ ได้คะแนน ๔ คะแนน ๓. สำนักงานเขตสามารถจัดเก็บภาษีค้างชำระได้ตั้งแต่ร้อยละ ๑๕ แต่ไม่ถึงร้อยละ ๒๐ ของยอดภาษีค้างชำระ ได้คะแนน ๓ คะแนน ๔. สำนักงานเขตสามารถจัดเก็บภาษีค้างชำระได้ตั้งแต่ร้อยละ ๑๐ แต่ไม่ถึงร้อยละ ๑๕ ของยอดภาษีค้างชำระ ได้คะแนน ๒ คะแนน ๕. สำนักงานเขตสามารถจัดเก็บภาษีค้างชำระได้ไม่ถึงร้อยละ ๑๐ ได้คะแนน ๑ คะแนน
-รายงานการจัดเก็บภาษี 3 ประเภท -รายงานการจัดเก็บภาษีค้างชำระ
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ |
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ% |
:๗.๔.๑.๑ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ |