ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
เร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามที่กรุงเทพมหานครกำหนดเพื่อจะได้ไม่ต้องกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี
เร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามที่กรุงเทพมหานครกำหนดเพื่อจะได้ไม่ต้องกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี รายการกันเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ไว้เบิกจ่ายในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 มีดังนี้ 1. กันเงินเหลื่อมปีแบบมีหนี้ผูกพัน จำนวน 23 รายการ เป็นเงิน 26,071,455.91 บาท เบิกจ่ายแล้ว 22 รายการ เป็นเงิน 13,191,468.91 บาท 2. กันเงินเหลื่อมปีแบบไม่มีหนี้ผูกพัน จำนวน 1 รายการ ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันเรียบร้อยแล้ว เป็นเงิน 1,380,000บาท รวมรายการกันเงินทั้งสิ้น 24 รายการ เป็นเงิน 27,451,455.91บาท เบิกจ่ายแล้ว 22 รายการ เป็นเงิน 13,191,468.91 คิดเป็นร้อยละ 48.05 คงเหลือ 2 รายการ เป็นเงิน 14,259,977บาท
เร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามที่กรุงเทพมหานครกำหนดเพื่อจะได้ไม่ต้องกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี รายการกันเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ไว้เบิกจ่ายในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 มีดังนี้ -กันเงินเหลื่อมปีแบบมีหนี้ผูกพัน จำนวน 23 รายการ 26,071,455.91 บาท เบิกจ่ายแล้ว 22 รายการ เป็นเงิน 13,191,468.91 บาท คงเหลือ 1 รายการ เป็นเงิน 12,879,977 บาท -กันเงินเหลื่อมปีแบบไม่มีหนี้ผูกพัน จำนวน 1 รายการ ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันเรียบร้อยแล้ว เป็นเงิน 1,380,000.-บาท และเบิกจ่ายเรียบร้อยแล้ว รวมรายการกันเงินทั้งสิ้น 24 รายการ เป็นเงิน 27,451,455.91 บาท เบิกจ่ายแล้ว 23 รายการ เป็นเงิน 14,571,468.91 บาท คิดเป็นร้อยละ 46.92 คงเหลือ 1 รายการ เป็นเงิน 12,879,977 บาท
เร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามที่กรุงเทพมหานครกำหนดเพื่อจะได้ไม่ต้องกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี รายการกันเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ไว้เบิกจ่ายในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 มีดังนี้ -กันเงินเหลื่อมปีแบบมีหนี้ผูกพัน จำนวน 23 รายการ 26,071,455.91 บาท เบิกจ่ายแล้ว 22 รายการ เป็นเงิน 13,191,468.91 บาท คงเหลือ 1 รายการ เป็นเงิน 12,879,977 บาท -กันเงินเหลื่อมปีแบบไม่มีหนี้ผูกพัน จำนวน 1 รายการ ดำเนินการก่อหนี้ผูกพันเรียบร้อยแล้ว เป็นเงิน 1,380,000.-บาท และเบิกจ่ายเรียบร้อยแล้ว รวมรายการกันเงินทั้งสิ้น 24 รายการ เป็นเงิน 27,451,455.91 บาท เบิกจ่ายแล้ว 23 รายการ เป็นเงิน 14,571,468.91 บาท คิดเป็นร้อยละ 46.92 คงเหลือ 1 รายการ เป็นเงิน 12,879,977 บาท
1.เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ทุกหมวดรายจ่ายและเงินงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ที่ไม่สามารถก่อหนี้ผูกพันได้ทันภายในสิ้นเดือนกันยายน 2562 และได้รับอนุมัติให้กันเงินเหลื่อมปีแบบไม่มีหนี้ผูกพัน (อำนาจผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) มาดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2.จำนวนเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีแบบไม่มีหนี้ผูกพัน หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงปบระมาณ พ.ศ. 2562 ทุกหมวดรายจ่าย และเงินงบกลางทุกประเภทที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ที่ไม่สามารถก่อหนี้ผูกพันได้ทันภายในสิ้นเด้ือนกันยายน 2562 และได้รับอนุมัติให้กันเงินเหลือมปีแบบไม่มีหนี้ผูกพัน (อำนาจผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) มาดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 3.งบประมาณหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2562 หมายถึง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ทุกหมวดรายจ่าย และเงินงบกลางทุกประเภทที่ได้รับสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2562
-ร้อยละของเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี เท่ากับ จำนวนเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีแบบไม่มีหนี้ผูกพัน คูณ 100 หารด้วย งบประมาณหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนกันยายน 2562 นำค่าเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนตามการประเมินเงินกันไว้เบิกเหลือมปี จะได้ค่าเป็นคะแนน
1.หน่วยงานเร่งรัดการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายให้แล้วเสร็จในปีงบประมาณ ไม่มีรายการ/โครงการ ที่ไม่สามารถดำเนินการได้ทัน และต้องขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี 2.สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครตรวจสอบข้อมูลจากระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร 3.สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครประเมินผลการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีของแต่ละหน่วยงาน จากผลการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาการกันเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ไว้เบิกเหลื่อมปีในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ตามกรอบการประเมินผลและเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดที่ 2.1.3 ส่งให้สำนักงาน ก.ก. หรือคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ |
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ% |
:๗.๔.๑.๔ ปรับปรุงมาตรฐานและแนวปฏิบัติด้านการเงินการบัญชี และการตรวจสอบ |