รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสมวัย : 5039-918

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 40

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เตรียมกำหนดการจัดซื้อวัสดุตามโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดซื้อวัสดุตามโครงการเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการจัดซื้อวัสดุตามโครงการเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดซื้อวัสดุตามโครงการเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

เด็กก่อนวัยเรียน หมายถึง เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร จำนวน 292 ศูนย์ จาก 45 สำนักงานเขต พัฒนาการสมวัย หมายถึง มีพัฒนาการทุกด้านเหมาะสมตามวัย ประเมินโดยวิธีสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก ตามแนวทาง DSPM ฉบับสรุปสาระสำคัญจาก DSPM ฉบับสมบูรณ์ พัฒนาการสงสัยล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก ตามแนวทาง DSPMฉบับสรุปสาระสำคัญจาก DSPM ฉบับสมบูรณ์ และผลการตรวจผ่านไม่ครบทุกด้าน การเข้าสู่กระบวนการพัฒนา หมายถึง เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการประสานส่งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

เด็กที่ได้รับการตรวจประเมินและพบว่ามีพัฒนาการสมวัย x100 เด็กที่ได้รับการตรวจประเมินทั้งหมด - เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนาx100 เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. ผลการประเมินพัฒนาการเด็กรายศูนย์และรายเขต 2. ผลการนำเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าเข้าสู่กระบวนการพัฒนา

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน
:๓.๓.๑ การกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค%
:๓.๓.๑.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตาม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง