รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

เด็กมีพัฒนาการสมวัย (2) พัฒนาการของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร - ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา : 5040-878

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00
100
100 / 100
2
50.00
0
0 / 0
3
60.00
0
0 / 0
4
100.00
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตบางแค มีจำนวน 2 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนวชิรราชวิทยายน และ ศูนย์อบรมเด็กเล็กก่อนเกณฑ์วัดศาลาแดง ดำเนินโครงการและกิจกรรมเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ได้แก่ โครงการส่งเสริมและพัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนให้มีพัฒนาการสมวัย โดยดำเนินการอบรมให้ความรู้การใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมการพัฒนาการเด็กระดับปฐมวัย Developmental Surveillance ang Promotion Manual (DSPM) แก่อาสาสมัครผู้ดูแลเด็กจำนวนทั้ง 2 ศูนย์ โดยวิทยากรจากศูนย์บริการสาธารณสุข 40 บางแค เพื่อให้อาสาสมัครผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ นำคู่มือไปใช้ในการสำรวจพัฒนาการของเด็กและปรับใช้ในการส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัยตามเกณฑ์ที่กำหนดได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจประเมินพัฒนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตบางแค จำนวน 2 ศูนย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจประเมินพัฒนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตบางแค จำนวน 2 ศูนย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เด็กก่อนวัยเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครในพื้นที่เขตบางแค จำนวน 2 ศูนย์ มีจำนวนทั้งหมด 480 คน มีเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสมวัยจำนวน 480 คน คิดเป็น ร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

เด็กก่อนวัยเรียน หมายถึง เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร จำนวน 292 ศูนย์ จาก 45 สำนักงานเขต พัฒนาการสมวัย หมายถึง มีพัฒนาการทุกด้านเหมาะสมตามวัย ประเมินโดยวิธีสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก ตามแนวทาง DSPM ฉบับสรุปสาระสำคัญจาก DSPM ฉบับสมบูรณ์ พัฒนาการสงสัยล่าช้า หมายถึง เด็กที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ประเมินและเฝ้าระวังโดยวิธีสังเกตของอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก ตามแนวทาง DSPMฉบับสรุปสาระสำคัญจาก DSPM ฉบับสมบูรณ์ และผลการตรวจผ่านไม่ครบทุกด้าน การเข้าสู่กระบวนการพัฒนา หมายถึง เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการประสานส่งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าและได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา คูณ 100 หาร เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน ผลการประเมินพัฒนาการเด็กและผลการนำเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าให้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา เอกสารหลักฐาน 1. ผลการประเมินพัฒนาการเด็กรายศูนย์และรายเขต 2. ผลการนำเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าเข้าสู่กระบวนการพัฒนา

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
: **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง