ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 15
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 17.54
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
- เผยแพร่ความรู้ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม ดำเนินการจัดทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยใบไม้กิ่งไม้ แบบต่อเนื่อง เพื่อแจกจ่ายให้กับประชาชนที่สนใจ
- ปริมาณมูลฝอยคัดแยก จำนวน 8,693.18 ตัน (5 เดือน),(เป้าหมาย 15,955.05 ตัน/ปี)ดำเนินการได้ ร้อยละ 10.897 โดยดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยทุกวัน - ปริมาณมูลฝอยอันตราย จำนวน 8.04 ตัน (เป้าหมาย 16.64 ตัน/ปี) ดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยอันตราย 2 ครั้ง/เดือน
-ปริมาณมูลฝอยคัดแยก = 11,348.4954 ตัน (8 เดือน)ร้อยละ 14.225 -ปริมาณมูลฝอยอันตราย = 11.69 ตัน (8 เดือน)ร้อยละ 10.53
- ดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยทุกวัน โดยตั้งแต่เดือน ต.ค.62 - ก.ย.63 ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยก = 22,354.23 ตัน - ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยอันตรายจากแหล่งกำเนิด ตามข้อตกลงเจรจากับ สสล. มีปริมาณ 15.54 ตัน/ปี โดยดำเนินการจัดเก็บมูลฝอยอันตราย 2 ครั้ง/เดือน ผลการดำเนินการจัดเก็บตั้งแต่เดือน ต.ค.62 - ก.ย.63 ปริมาณมูลฝอยอันตราย = 19.71 ตัน
มูลฝอยอันตราย (Hazardous Wastes) หมายถึง มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตราย ที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน ได้แก่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่ ภาชนะ บรรจุสารเคมี ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอื่นๆ เช่น ยาเม็ดหมดอายุ ผงคาร์บอน เป็นต้น โดยไม่รวมของเสียอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยติดเชื้อ และกากกัมมันตรังสี
ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เท่ากับ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2563 ลบ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 หาร ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 คูณ 100 (ปริมาณมูลฝอยตั้งแต่ต.ค.62 - ก.ย. 63) การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด : สำนักสิ่งแวดล้อม 1. จัดให้มีการส่งเสริมความรู้การลด และการคัดแยกมูลฝอยและมูลฝอยอันตรายที่แหล่งกำเนิดแก่เจ้าหน้าที่ของ 50 สำนักงานเขต อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 2. กำหนดแนวทางวิธีการรายงานผลที่สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้และแจ้งสำนักงานเขตนำไปปฏิบัติ 3. จัดให้มีการลงพื้นที่ตรวจสอบการดำเนินงานการลดและการคัดแยกมูลฝอยและมูลฝอยอันตรายที่แหล่งกำเนิดของ 50 สำนักงานเขต จำนวน 1 ครั้งต่อปี สำนักงานเขต 1. ดำเนินการตามค่าเป้าหมายรายเขตที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 2. ผลการดำเนินงานรายเขตใช้ข้อมูลจากระบบรายงานของสำนักสิ่งแวดล้อม ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 3. สำนักงานเขตรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด โดยแยกเป็น 2 ตัวย่อย ผ่านระบบติดตามและประเมินผลของสำนักยุทธศาสตร์-และประเมินผลเป็นประจำทุกเดือน โดยต้องระบุรายละเอียดที่อธิบายได้ว่า ดำเนินการอย่างไร กับใคร ที่ไหน เมื่อไร พร้อมปริมาณที่จัดเก็บได้มูลฝอยและมูลฝอยอันตรายพร้อมระบุแหล่งกำเนิดที่ไปจัดเก็บ 4. จัดเตรียมเอกสารประกอบการดำเนินงานตามแนวทางที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนดไว้ ณ หน่วยงานเพื่อรับการประเมินผล
ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เท่ากับ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2563 ลบ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 หาร ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 คูณ 100 (ปริมาณมูลฝอยตั้งแต่ต.ค.62 - ก.ย. 63) การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด : สำนักสิ่งแวดล้อม 1. จัดให้มีการส่งเสริมความรู้การลด และการคัดแยกมูลฝอยและมูลฝอยอันตรายที่แหล่งกำเนิดแก่เจ้าหน้าที่ของ 50 สำนักงานเขต อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 2. กำหนดแนวทางวิธีการรายงานผลที่สามารถตรวจสอบผลการดำเนินงานได้และแจ้งสำนักงานเขตนำไปปฏิบัติ 3. จัดให้มีการลงพื้นที่ตรวจสอบการดำเนินงานการลดและการคัดแยกมูลฝอยและมูลฝอยอันตรายที่แหล่งกำเนิดของ 50 สำนักงานเขต จำนวน 1 ครั้งต่อปี สำนักงานเขต 1. ดำเนินการตามค่าเป้าหมายรายเขตที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 2. ผลการดำเนินงานรายเขตใช้ข้อมูลจากระบบรายงานของสำนักสิ่งแวดล้อม ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 3. สำนักงานเขตรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด โดยแยกเป็น 2 ตัวย่อย ผ่านระบบติดตามและประเมินผลของสำนักยุทธศาสตร์-และประเมินผลเป็นประจำทุกเดือน โดยต้องระบุรายละเอียดที่อธิบายได้ว่า ดำเนินการอย่างไร กับใคร ที่ไหน เมื่อไร พร้อมปริมาณที่จัดเก็บได้มูลฝอยและมูลฝอยอันตรายพร้อมระบุแหล่งกำเนิดที่ไปจัดเก็บ 4. จัดเตรียมเอกสารประกอบการดำเนินงานตามแนวทางที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนดไว้ ณ หน่วยงานเพื่อรับการประเมินผล
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๑ - ปลอดมลพิษ |
:๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ% |
:๑.๑.๒.๑ ลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่แหล่งกำเนิดจนถึงการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ |