ค่าเป้าหมาย ต้น/เขต : 75
ผลงานที่ทำได้ ต้น/เขต : 210
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ ณ บริเวณถนนทางเข้าเกาะจวน (ปลูกต้นทองอุไร จำนวน 200 ต้น)
- สาธิตการปลูกไม้ยืนต้น จำนวน 2 ต้น (พ.ย./ธ.ค. 62) - ปลูกไม้ยืนต้น (ต้นทองอุไร) (15 ธ.ค. 62) - กิจกรรมอบรม ถ่ายทอดความรู้เฉพาะด้านการบำรุง ดูแล และปลูกไม้ยืนต้น
- สาธิตการปลูกไม้ยืนต้น จำนวน 2 ต้น (พ.ย./ธ.ค. 62) - ปลูกไม้ยืนต้น (ต้นทองอุไร) ณ ชุมชนเกาะจวน จำนวน 200 ต้น (15 ธ.ค. 62) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 75 คน - กิจกรรมอบรม ถ่ายทอดความรู้ สาธิตเฉพาะด้านการบำรุง ดูแล และปลูกไม้ยืนต้น จำนวน 2 ครั้ง , โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม รวม 94 คน
-1. จัดกิจกรรมอบรม ถ่ายทอดความรู้ สาธิต เฉพาะด้านการบำรุง ดูแล และปลูกไม้ยืนต้น และความหลากหลายทางชีวภาพ ดำเนินการทั้งสิ้น จำนวน 2 ครั้ง (ครั้งที่ 1 ณ สำนักงานเขตคันนายาว ผู้ร่วมกิจกรรมจำนวน 69 คน, ครั้งที่ 2 ณ ชุมชนเกาะจวน ผู้ร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คน) 2. กิจกรรมเพิ่มพื้นที่ร่มเงา สร้างความร่มรื่น ให้พื้นที่เขตด้วยการปลูกไม้ยืนต้นในพื้นที่สาธารณะ จำนวน 210 ต้น(ต้นทองอุไร) ณ ริมคลองหลอแหล ทางเข้า ชุมชนเกาะจวน ซอยเสรีไทย 38 ถนนเสรี-ไทย แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพมหานครผู้ร่วมกิจกรรม จำนวน 75 คน
1. ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร หมายถึง จุดถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือจุดสาธิตการเกษตร ทั้งด้านพืช ประมง ปศุสัตว์ เกษตรผสมผสาน 2. กิจกรรมของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ประกอบด้วย 2 กิจกรรมหลัก คือ 1) กิจกรรมการอบรม ถ่ายทอดความรู้ สาธิตพิจารณาเฉพาะด้านการบำรุง ดูแล และปลูกไม้ยืนต้น และความหลากหลายทางชีวภาพ 2) กิจกรรมผลักดันการถ่ายทอดความรู้ตามข้อ 1 สู่การปฏิบัติโดยเพิ่มพื้นที่ร่มเงาสร้างความร่มรื่นให้แก่พื้นที่เขตด้วยการปลูกไม้ยืนต้นในพื้นที่สาธารณะ หรือพื้นที่เอกชนด้วยการดำเนินความร่วมมือกับกลุ่มเป้าหมายในรูปแบบสวนป่า หรือ Green Corridors คือการปลูกต้นไม้คู่ขนานไปกับแนวทางสาธารณะไม่ว่าจะเป็นถนน ทางจักรยานทางเท้า และริมคลองในพื้นที่ชุมชนเมืองทำให้เกิดแนวทางสีเขียวในพื้นที่ชุมชนเมือง 3. พื้นที่สีเขียวที่ยั่งยืน หมายถึงพื้นที่สีเขียวตามนิยามของสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด ซึ่งมีไม้ยืนต้นขนาดใหญ่เป็นองค์ประกอบหลักซึ่งได้รับการดูแล บำรุงรักษาให้คงอยู่อย่างถาวรและเมื่อโตเต็มที่ทรงพุ่มให้ร่มเงาครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด 4. กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง เกษตรกร ข้าราชการ ลูกจ้าง นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
นับจำนวนไม้ยืนต้นในพื้นที่เขตที่ได้รับการพัฒนาจากกิจกรรมของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
...
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่ |