ค่าเป้าหมาย ค่าเปอร์เซ็นไทล์ : 80
ผลงานที่ทำได้ ค่าเปอร์เซ็นไทล์ : 54.81
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2563 ผู้ป่วยจำนวน 48 คน อัตราการป่วย 53.259 ต่อแสนประชากร ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 คิดเป็นร้อย 29.115 ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม 2563-มีนาคม 2564 ผู้ป่วยจำนวนสะสม 68 คน อัตราการป่วย 76.80 ต่อแสนประชากร ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 คิดเป็นร้อย 46.59 ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม 2563-มิถุนายน 2564 ผู้ป่วยจำนวนสะสม 71 คน อัตราการป่วย 80.19 ต่อแสนประชากร ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 คิดเป็นร้อยละ 48.64 ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกระหว่างเดือนตุลาคม 2563-กันยายน 2564 ผู้ป่วยจำนวนสะสม 80 คน อัตราการป่วย 90.36 ต่อแสนประชากร คิดเป็นร้อยละ 54.81ของของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 164.8595 )
โรคไข้เลือดออก หมายถึง โรคที่ได้รับการวินิจฉัยอาการตาม เกณฑ์ทางคลินิกและหรือมีผลตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการว่าป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออกทุกกลุ่มอาการ ได้แก่ Dengue Fever (DF), Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) และ Dengue Shock Syndrome (DSS) อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก หมายถึง จำนวนผู้ป่วย DF+DHF+DSSคูณ 100,000 หารด้วยจำนวนประชากรกลางปี เปอร์เซ็นไทล์ (Percentile) คือ การแบ่งข้อมูลเป็น 100 ส่วน ในที่นี้แบ่งอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ข้อมูล 5 ปี ย้อนหลัง เป็น 100 ส่วน โดยใช้ตำแหน่งที่ 80 เป็นค่าเปรียบเทียบ
อัตราป่วย : ผู้ป่วย x ประชากร 100,000 คน จำนวนประชากรปี 2563
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง% |
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก |