ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 20
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 22.7
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่ ให้มีการดำเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี และมีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)
ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่ ให้มีการดำเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี และมีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 10 ราย จากจำนวนทั้งหมด 130 ราย ได้แก่ (1)ยามเย็น (2)ครัวยี่สาร (3)บ้านน้ำเคียงดิน (4)Cafe Amezon (5)คาเฟ่คอนเทนเนอร์ (6)ข้าวเลือดหมู (7)มัสเคเทียร์ (8)สวนอาหารเรือนแก้ว (9)ครัวบ้านโอ่ง (10)ร้านอาหารบ้านในสวน ผลการดำเนินงานร้อยละ 7.69
ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่ ให้มีการดำเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี และมีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 10 ราย จากจำนวนทั้งหมด 130 ราย ได้แก่ (1) ร่มไม้ชายคา (2) ห้องอาหารยาจีนบำรุง (3) ลูกชิ้นหมูพริกกะเหรี่ยง (4) ครัวบ้านไทร (5) ครัวยายเปล่ง (6) บ้านใจรัก (7) ไวท์คอนเนคชั่น (8) ข้าวขาหมูจุฬา (9) ZEN (10) เดอะพิซซ่าคอมปะนี 8/15 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 7.69 รวมผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1-3 ร้อยละ 15.38
ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารในพื้นที่ ให้มีการดำเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี และมีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 22 ราย จากจำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 141 ราย ได้แก่ (1)สวนอาหารเรือนแก้ว (2)อี๊ด 2001 (3)ครัวบ้านโอ่ง (4)มัสเคเทียร์ (5)ครัวยี่สาร (6)สเวนเซ่น (7)กาแฟอเมซอน เลขที่ 98 (8)มุมสวน (9)LBOX (10)คาเฟ่คอนเทนเนอร์ (11)ห่านพะโล้ยินดี (12)ร้านอาหารบ้านในสวน (13)สตาร์บัคส์ คอฟฟี่ 8/14 (14)บาบีคิวพลาซ๋า (15)ข้าวเลือดหมู (16)เฮงยอดผักกินไม่รู้อิ่ม (17)Bootcamp café (18)Café Amezon 195/1 (19)Pizza Hut (20)ยามเย็น (21)บ้านน้ำเคียงดิน (22)คุณเพื่อนบ้าน รวมผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1-4 ร้อยละ 22.70
การบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) หมายถึง สถานประกอบการอาหารมีการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 4 ข้อ โดยต้องผ่านข้อมาตรฐานหลักทุกข้อ ดังนี้ (1) ไม่มีเหตุรำคาญจากการประกอบกิจการ (ข้อมาตรฐานหลัก) (2) ไม่ใช้ภาชนะที่ทำจากโฟม (ข้อมาตรฐานหลัก) (3) เลือกใช้วัตถุดิบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หรือได้รับการรับรองมาตรฐานด้านความปลอดภัยที่เชื่อถือได้ (4) มีการคัดแยกขยะ เช่น ขยะรีไซเคิลขยะทั่วไปและขยะอันตราย เป็นต้น (5) มีการนำขยะอาหาร วัตถุดิบเหลือใช้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ (6) เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด หรือการกำจัดแมลง สัตว์นำโรคที่มีวิธีหรือส่วนประกอบ จากธรรมชาติ (7) มีนโยบายให้ลูกค้านำภาชนะมาใส่อาหารเองได้
จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด
1. โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. ข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และข้อมูลจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. ระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร และ BMA Food Safety Application
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |