ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 5
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
- จัดทำโครงการจัดตั้งเครือข่ายประชาสังคมเขตทุ่งครุ - จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาจัดตั้งเครือข่ายภาคประชาสังคมเขตทุ่งครุ เมื่อวันที่30พฤศจิกายน2563 - จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาจัดตั้งเครือข่ายภาคประชาสังคมเขตทุ่งครุ เมื่อวันที่21ธันวาคม2563
- จัดประชุมคณะกรรมการประชาคมเขตทุ่งครุ ครั้งที่ 1/64 (ชุดเดิมตามคำสั่งสำนักงานเขตทุ่งครุ ที่571/2559 ลว.30 ธ.ค. 2559) และคณะกรรมการพิจารณาจัดตั้งเครือข่ายภาคประชาสังคม เมื่อวันที่19 มกราคม 2564 เพื่อเตรียมจัดตั้งประชาคมเขตทุ่งครุในคราวต่อไป - จัดทำหนังสือประสานเครือข่ายประชาสังคมภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่เขต เพื่อเชิญชวนให้ร่วมเป็นกรรมการประชาคมเขตทุ่งครุ
- จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประชาคมเขตทุ่งครุ ซึ่งมาจากภาคส่วนต่าง ๆ ได้แก่ ภาคเอกชน ภาคสถาบันการศึกษา และภาคประชาชน - จัดประชุมคณะกรรมการประชาคมเขตทุ่งครุ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 18 พ.ค. 2564 เพื่อพิจารณาตำแหน่ง รับทราบอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการประชาคมเขตทุ่งครุ และพิจารณาประเด็นปัญหาที่จะนำมาทำกิจกรรม - จัดทำคำสั่งแต่งตั้งตำแหน่งคณะกรรมการประชาคมเขตทุ่งครุ ลงวันที่ 24 พ.ค. 2564 - จัดทำคำสั่งแต่งตั้งที่ปรึกษาประชาคมเขตทุ่งครุ ลงวันที่ 25 พ.ค. 2564 - จัดประชุมคณะกรรมการประชาคมเขตทุ่งครุ ครั้งที่ 3/64 ในวันอังคารที่ 29 มิ.ย. 2564 เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานของประชาคมเขตทุ่งครุ และพิจารณาคัดเลือกประเด็นปัญหาหรือการพัฒนาตามบริบทพื้นที่เพื่อกำหนดประเด็นสำคัญเพื่อการพัฒนาเมือง การกำหนดแผนงาน/โครงการ และคัดเลือกแผนงาน/โครงการ เพื่อผลักดันให้ไปสู่การปฏิบัติและเกิดผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม
1.. ดำเนินการและขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมประเด็นสำคัญในการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยมีประเด็นปัญหา/พัฒนาตามบริบทพื้นที่ จำนวน 7 ประเด็น มีมติคัดเลือกประเด็นการแก้ไขปัญหาขยะและเพลิงไหม้ในที่ดินรกร้างของเอกชน 2. รายงานผลการดำเนินการเครือข่ายประชาคมเพื่อการพัฒนาพื้นที่ของสำนักงานเขตเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2564
เครือข่ายประชาสังคม หมายถึง เครือข่ายประชาสังคมในระดับเขตพื้นที่ โดยสมาชิกเครือข่ายประกอบด้วยผู้แทนจากกลุ่มประชาสังคมในพื้นที่เขตที่มีบทบาทและสนใจการพัฒนาพื้นที่เขต
นับจำนวนเครือข่ายประชาสังคมเขตที่มีการจัดตั้งในพื้นที่เขต
1.กำหนดแนวทางและหลักเกณฑ์การจัดตั้งเครือข่ายประชาสังคมเขต 2.รายงานการประชุมที่เกี่ยวข้อง 3.ประเด็นที่ได้จากเครือข่ายประชาสังคมในพื้นที่เขต
:ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City |
:๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล |
:๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง% |
:๕.๒.๑.๑ รับฟังความคิดเห็นของประชาชนผ่าน “สภาประชาชนกรุงเทพมหานคร” |