ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 5
นางกนิษฐา พันธะ เบอร์ 02 326 9995 ต่อ 260
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
ปัจจุบันผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่ติดต่อ เช่น โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง อ้วนลงพุง ไขมันในเลือดสูง ยังคงเป็นภัยเงียบคุกคามบั่นทอนคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างไม่รู้ตัว มีภาวะโรคแทรกซ้อนที่รุนแรงและเรื้อรัง รวมทั้งทวีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและมีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งจากสถิติของโรงพยาบาลสิรินธร พบว่าจำนวนทั้งผู้ป่วยเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะ NCDs เพิ่มมากขึ้นทุกปี และถือเป็นกลุ่มโรคที่ติดอันดับ 1 ใน ๓ โรคแรกตลอดทุกปี สาเหตุสำคัญจากปัญหาด้านพฤติกรรมการดำรงชีวิต ความรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพที่สาเหตุจาก ภาวะNCDs โรคเบาหวานความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพตนเองที่ยังไม่ถูกต้อง ปัญหาสภาพสังคม เศรษฐกิจ รวมถึงปัญหาการเข้าถึงบริการ การคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชนเกี่ยวกับโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงที่ยังไม่ทั่วถึง ซึ่งส่งผลต่อการป้องกันการเจ็บป่วย การเข้าถึงบริการรักษาดูแลล่าช้า ทำให้องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความสำคัญในการส่งเสริมป้องกัน โดยเฉพาะปัญหาโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งถือเป็นโรคที่มีภัยคุกคามอย่างเงียบ และมีภาวะแทรกซ้อนที่ค่อนข้างรุนแรง ซึ่งการพัฒนาระบบบริการ จัดทำแนวทางการดูแล มีระบบการคัดกรองภาวะสุขภาพเกี่ยวกับความดันโลหิตสูง จะช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง และทำให้ประชาชนสามารถถึงระบบบริการการดูแลได้ง่ายและเพิ่มขึ้น สำนักการแพทย์โดยโรงพยาบาลในสังกัด 9 แห่ง จึงจัดโครงการ“พัฒนาคุณภาพระบบบริการประชาชนที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง” ขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลที่ได้มาตรฐาน มีการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน เพื่อลดปัญหาและปัจจัยต่างๆที่จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและญาติ รวมทังสังคมและเศรษฐกิจของชาติ
07100000/07100000
๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังติดตามและได้รับคำแนะนำตามแนวทางปฏิบัติ ๒. เพื่อให้ประชาชนป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง ๓. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเองป้องกันภาวะการเจ็บป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง
เชิงปริมาณ ๑. พัฒนาและจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ( CLINICAL GUIDLINE) ๒. พัฒนาและจัดทำคู่มือการส่งเสริมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ๓. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ในคลินิกอายุรกรรม คลินิกความดันโลหิตสูง ๔. ประเมินภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ๕. จัดกิจกรรมวันความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลในเครือสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร เชิงคุณภาพ ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ ร้อยละ ๓6
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร% |
๑.๖.๑.๑ คัดกรองและลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-10-12)
10/2564 : รายงานของเดือนกันยายน 2564 โรงพยาบาลกลาง ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไตรมาส 4 ตั้งแต่ 1 ก.ค. – 30 ส.ค. 2564 จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด เท่ากับ 75 ราย จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดในช่วงดังกล่าว เท่ากับ 200 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.50 โดยคิดเป็นยอดสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564 จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด เท่ากับ 2,043 ราย จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดในช่วงดังกล่าว เท่ากับ 4,301 ราย คิดเป็นร้อยละ 47.50 โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลตากสิน มีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริการประชาชนที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ทั้งสิ้น 9,493 ราย โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังติดตามและได้รับคำแนะนำตามแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง และได้รับความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเองป้องกันภาวการณ์เจ็บป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง อย่างต่อเนื่อง ข้อมูล เพื่อนำมาจัดทำไตรมาสที่ 4/64 โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ให้การดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินงานตามแผนการที่วางไว้ โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการแล้วเสร็จ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ "- จัดคนไข้เข้าสู่ระบบTelemedในช่วงสถานการโควิด เพื่อลดอัตราคนไข้ได้รับยาไม่ต่อเนื่อง - จัดส่งทางทางไปรษณีย์ ในรายที่คนไข้อาการคงที่ - จัดทำโปสเตอร์ หน้าการปฏิบัติตัวของคนไข้ความดันโลหิตสูง ในรายที่มารพ.พบแพทย์ - จัดสอนสุขศึกษารายบุคคลสำหรับคนไข้ที่คุมความดันไม่ได้" โรงพยาบาลสิรินธร "1. ติดตามเยี่ยมทางโทรศัพท์ตามนัดผู้ป่วย ให้บริการทาง Telemecine และส่งยาทางไปรษณีย์ กรณีผู้ป่วยอาการไม่รุนแรงหรือไม่มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง 2. สนับสนุนการเข้าถึงความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูสุขภาพตนเองจากช่องทางอื่น เช่น ทางเครื่องมือสื่อสาร ความรู้ทางwebsite ต่างๆ พร้อมให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ ผลการดำเนินการ ตรวจติดตามผู้ป่วยในกลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง ระยะเวลาตั้งแต่ 1 ต.ค. 63 – 20 ส.ค. 2564 จำนวนทั้งหมด 20,794 ราย ผู้ป่วยสามารถควบคุมความดันโลหิต ได้จำนวน 5,561 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.40"
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2021-08-26)
26/08/2564 : โรงพยาบาลกลาง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยสถิติในช่วงเวลา 16 ก.ค. – 15 ส.ค. 64) จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 47 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 141 ราย คิดเป็นร้อยละ 33.33 โดยคิดเป็นยอดสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – 15 สิงหาคม 2564 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 2,414 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 6,840 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.29 โรงพยาบาลตากสิน เปิดให้บริการตรวจผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิกอายุกรรม ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โรงพยาบาลตากสิน ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 4 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนดในปีงบประมาณ 1,946 ราย และจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด 8 แห่ง ในปีงบประมาณเดียวกัน 3,639 ราย คิดเป็นร้อยละ 53.48 โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังติดตามและได้รับคำแนะนำตามแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง และได้รับความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเองป้องกันภาวการณ์เจ็บป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง อย่างต่อเนื่อง ขณะนี้อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูล เพื่อนำมาจัดทำรายงานในไตรมาสที่ 4/64 ต่อไป โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ให้การดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้ โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ "-สถานการณ์โควิดมีการจัดส่งยาทางไปรษณีย์และมีการบริการตรวจรักษาแบบtelemedเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง -จัดทำแผ่นพับให้ควารู้ใส่ไปในกล่องไปรษณีย์ส่งให้คนไข้พร้อมยา -เพิ่มเบอร์โทรศัพท์มือถือของแผนกเพื่อให้คนไข้ได้ติดต่อสะดวกขึ้น -จัดทำแผ่นโปรเตอร์ติดหน้าห้องตรวจให้ผู้ป่วยได้อ่านขณะรอตรวจ" โรงพยาบาลสิรินธร เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโคโรน่าไวรัสอย่างต่อเนื่อง จึงต้องปรับแนวทางการดำเนินการเพื่อลดและป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ และให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ดังนี้ 1. ติดตามเยี่ยมทางโทรศัพท์ตามนัดผู้ป่วย ให้บริการทาง Telemecine และส่งยาทางไปรษณีย์ กรณีผู้ป่วยอาการไม่รุนแรงหรือไม่มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง 2. สนับสนุนการเข้าถึงความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูสุขภาพตนเองจากช่องทางอื่น เช่น ทางเครื่องมือสื่อสาร ความรู้ทางwebsite ต่างๆ พร้อมให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ ผลการดำเนินการ ตรวจติดตามผู้ป่วยในกลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง ระยะเวลาตั้งแต่ 1 ต.ค. 63 – 31 ก.ค. 2564 จำนวนทั้งหมด 20,764 ราย ผู้ป่วยสามารถควบคุมความดันโลหิต ได้จำนวน 5,015 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.15"
** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี -
** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี -
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2021-07-29)
โรงพยาบาลกลาง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยสถิติในช่วงเวลา 16 มิ.ย. – 15 ก.ค. 64) จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 72 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 202 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.64 โดยคิดเป็นยอดสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – 15 กรกฎาคม 2564 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 2,367 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 6,699 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.33 โรงพยาบาลตากสิน เปิดให้บริการตรวจผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ ณ คลินิกอายุกรรม ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โรงพยาบาลตากสิน โดยให้การรักษาและดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตอย่างต่อเนื่อง และอยู่ระหว่างจัดเก็บสถิติ เพื่อรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 4 โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังติดตามและได้รับคำแนะนำตามแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง และได้รับความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเองป้องกันภาวการณ์เจ็บป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง อย่างต่อเนื่อง ข้อมูลไตรมาสที่ 3/64 โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ให้การดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้ โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างดำเนินการ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ -จัดทำโปสเตอร์ให้ความรู้หน้าห้องตรวจ -จัดทำแผ่นพับให้ควารู้แจกคนไข้ -สอนสุขศึกษา 2ครั้ง/สัปดาห์ -จัดส่งยาทางไปรษณีย์เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลสิรินธร เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโคโรน่าไวรัสอย่างต่อเนื่อง จึงต้องปรับแนวทางการดำเนินการเพื่อลดและป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ และให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ดังนี้ 1. ติดตามเยี่ยมทางโทรศัพท์ตามนัดผู้ป่วย ให้บริการทาง Telemecine และส่งยาทางไปรษณีย์ กรณีผู้ป่วยอาการไม่รุนแรงหรือไม่มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง 2. สนับสนุนการเข้าถึงความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูสุขภาพตนเองจากช่องทางอื่น เช่น ทางเครื่องมือสื่อสาร ความรู้ทางwebsite ต่างๆ พร้อมให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ ผลการดำเนินการ - ตรวจติดตามผู้ป่วยในกลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง ระยะเวลาตั้งแต่ 1 ต.ค. 63 – 30 มิ.ย. 2564 จำนวนทั้งหมด 18,537 ราย ผู้ป่วยสามารถควบคุมความดันโลหิต ได้จำนวน 4,433 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.91
** ปัญหาของโครงการ :จากสถานการณ์โควิดระบาดระลอก 3 จำนวนผู้ป่วยมาโรงพยาบาลลดลง ทำให้ได้รับบริการไม่ครอบคลุม
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2021-06-29)
โรงพยาบาลกลาง 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยสถิติในช่วงเวลา 16 พ.ค. – 15 มิ.ย. 64) จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 59 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 204 ราย คิดเป็นร้อยละ 28.92 โดยคิดเป็นยอดสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – 15 พฤษภาคม 2564 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 2,295 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 6,497 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.32 โรงพยาบาลตากสิน "ไตรมาสที่ 3 โรงพยาบาลตากสิน เปิดให้บริการตรวจผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ ณ คลินิกอายุกรรม ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โรงพยาบาลตากสิน โดยมีผลการดำเนินงานดังนี้ ผู้ป่วยความดันโลหิตที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 2,216 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด จำนวน 3,896 ราย คิดเป็นร้อยละ 56.88" โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังติดตามและได้รับคำแนะนำตามแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง และได้รับความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเองป้องกันภาวการณ์เจ็บป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง อย่างต่อเนื่อง ขณะนี้อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำรายงานในไตรมาสที่ 3/64 ต่อไป โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ให้การดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการให้บริการตามแผนงานที่วางไว้ โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างดำเนินการ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ "- สถานการณ์โควิด มีการส่งตรวจTelemed และส่งยาทางไปรษณีย์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับนาอย่างต่อเนื่อง - จัดทำแผ่นพับแจกเพื่อให้ความรู้สำหรับผู้ป่วย - จัดทำแผ่นโปสเตอร์ติดหน้าห้องตรวจเพื่อให้ผู้ป่วยได้อ่านขณะรอตรวจ" โรงพยาบาลสิรินธร "1. จัดช่องทางส่งเสริมสนับสนุนความรู้ให้แก่ผู้ป่วยตามกลุ่มเป้าหมายให้มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ดังนี้ จัดเข้ากลุ่มส่งเสริมความรู้ทุกวันพฤหัสบดี/ทำสื่อประชาสัมพันธ์ในการส่งเสริมความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผ่าน Social Media 2. ประเมินระดับ HbA1C ในผู้ป่วยตามกลุ่มเป้าหมายในทุกไตรมาส 3. ข้อมูลสะสมตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 63 - 31 พ.ค. 64 พบว่า ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนดมีจำนวน 3,870 ราย จากผู้ป่วยทั้งหมด จำนวน 16,293 ราย"
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2021-05-24)
24/05/2564 : โรงพยาบาลกลาง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยสถิติในช่วงเวลา 16 มี.ค. – 15 พ.ค. 64) จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 45 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 179 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.14 โดยคิดเป็นยอดสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – 15 พฤาภาคม 2564 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 2,236 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 6,293 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.53 โรงพยาบาลตากสิน เปิดให้บริการตรวจผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ ณ คลินิกอายุกรรม ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โรงพยาบาลตากสิน โดยให้การรักษาและดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตอย่างต่อเนื่อง และอยู่ระหว่างจัดเก็บสถิติ เพื่อรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 3 โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังติดตามและได้รับคำแนะนำตามแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง และได้รับความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเองป้องกันภาวการณ์เจ็บป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง อย่างต่อเนื่อง ขณะนี้อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำรายงานในไตรมาสที่ 3/64 ต่อไป โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ให้การดูแลโรคความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานวิชาชีพ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการให้บริการรักษาผู้ป่วยตามแผนงานที่วางไว้ โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างดำเนินการ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - จัดทำแผ่นพับให้ควารู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงแจกคนไข้ - ให้สุขศึกษา2ครั้ง/สัปดาห์ - จัดทำโปสเตอร์หน้าห้องตรวจให้ผู้ป่วยอ่านขณะนั่งรอตรวจ โรงพยาบาลสิรินธร 1. จัดช่องทางส่งเสริมสนับสนุนความรู้ให้แก่ผู้ป่วยตามกลุ่มเป้าหมายให้มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ดังนี้ จัดเข้ากลุ่มส่งเสริมความรู้ทุกวันพฤหัสบดี/ทำสื่อประชาสัมพันธ์ในการส่งเสริมความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผ่าน Social Media 2. ประเมินระดับ HbA1C ในผู้ป่วยตามกลุ่มเป้าหมายในทุกไตรมาส 3. ข้อมูลสะสมตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 63 - 30 เม.ย. 64 พบว่า ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนดมีจำนวน 3,507 ราย จากผู้ป่วยทั้งหมด จำนวน 14,614 ราย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2021-04-28)
28/04/2564 : โรงพยาบาลกลาง 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยสถิติในช่วงเวลา 16 มี.ค. – 15 เม.ย. 64) จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 79 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 276 ราย คิดเป็นร้อยละ 28.62 โดยคิดเป็นยอดสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – 15 เมษายน 2564 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 2,191 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 6,114 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.84 โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลตากสิน เปิดให้บริการตรวจผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ ณ คลินิกอายุกรรม ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โรงพยาบาลตากสิน โดยให้การรักษาและดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตอย่างต่อเนื่อง และอยู่ระหว่างจัดเก็บสถิติ เพื่อสรุปยอดและรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 3 โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังติดตามและได้รับคำแนะนำตามแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง และได้รับความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเองป้องกันภาวการณ์เจ็บป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง อย่างต่อเนื่อง (ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 63-31 มี.ค. 64) โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ให้การดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการให้บริการประชาชนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงตามแผนงานที่วางไว้ โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร อยู่ในระหว่างดำเนินการ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ -จัดทำแผ่นพับให้ความรู้และการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง -จัดสอนสุขศึกษาให้ผู้ป่วย2ครั้ง/สัปดาห์ โรงพยาบาลสิรินธร 1. จัดช่องทางส่งเสริมสนับสนุนความรู้ให้แก่ผู้ป่วยตามกลุ่มเป้าหมายให้มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ดังนี้ 1.1 จัดเข้ากลุ่มส่งเสริมความรู้ทุกวันพฤหัสบดี 1.2 ทำสื่อประชาสัมพันธ์ในการส่งเสริมความรู้โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 1.3 ส่งเสริมเข้าถึงช่องทางเข้าถึงความรู้ในการดูแลสุขภาตนแอง โดยผ่านระบบสารสนเทศ 2. เปิดให้บริการตรวจผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ห้องตรวจอายุกรรม ชั้น 1 อาคารบริการ 3. ข้อมูลสะสมตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 63 - 31 มี.ค. 64 พบว่า ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนดมีจำนวน 2,984 ราย จากผู้ป่วยทั้งหมด จำนวน 12,524 ราย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2021-03-29)
29/03/2564 : โรงพยาบาลกลาง 1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยสถิติในไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2564 (16 ธ.ค. 63 – 15 มี.ค. 64) จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 643 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 2,005 ราย คิดเป็นร้อยละ 32.07 โดยคิดเป็นยอดสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – 15 มีนาคม 2564 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 2,112 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 5,838 ราย คิดเป็นร้อยละ 36.18 โรงพยาบาลตากสิน "ไตรมาสที่ 2 โรงพยาบาลตากสิน เปิดให้บริการตรวจผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ ณ คลินิกอายุกรรม ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โรงพยาบาลตากสิน โดยมีผลการดำเนินงานดังนี้ ผู้ป่วยความดันโลหิตที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 2,661 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด จำนวน 4,472 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.35" โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ รพจ. ดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริการประชาชนที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง ขณะนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำสถิติ ในไตรมาสที่ 2 ต่อไป โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ การดำเนินงานการคัดกรองผู้ป่วย HT ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต โดยแจ้งให้แพทย์ส่งตรวจ BUN CR EGFR ในผู้ป่วย HT อย่างน้อยปีละครั้ง และส่งต่อหากพบความผิดปกติให้ได้รับการรักษา โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างดำเนินการ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ "-จัดทำแผ่นพับให้ความรู้-จัดสอนสุขศึกษาสัปดาห์ละ1ครั้ง" โรงพยาบาลสิรินธร "1. จัดช่องทางส่งเสริมสนับสนุนความรู้ให้แก่ผู้ป่วยตามกลุ่มเป้าหมายให้มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ดังนี้ 1.1 จัดเข้ากลุ่มส่งเสริมความรู้ทุกวันพฤหัสบดี 1.2 ทำสื่อประชาสัมพันธ์ในการส่งเสริมความรู้โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 1.3 ส่งเสริมเข้าถึงช่องทางเข้าถึงความรู้ในการดูแลสุขภาตนแอง โดยผ่านระบบสารสนเทศ 2. เปิดให้บริการตรวจผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ห้องตรวจอายุกรรม ชั้น 1 อาคารบริการ 3. ข้อมูลสะสมตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 63 - 15 มี.ค. 64 พบว่า ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนดมีจำนวน 2,984 ราย จากผู้ป่วยทั้งหมด จำนวน 12,524 ราย"
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2021-02-25)
25/02/2564 : โรงพยาบาลกลาง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยสถิติในไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2563 (ต.ค. - 15 ก.พ. 2563) จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 1,975 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 5,437 ราย คิดเป็นร้อยละ 36.33 โรงพยาบาลตากสิน ให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ที่มาเข้ารับการรักษา ณ คลินิกอายุรกรรม ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โรงพยาบาลตากสิน โดยมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ จำนวน 945 คน จากผู้ป่วยความดันโลหิตที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการในโรงพยาบาลตากสิน จำนวน 2,230 คน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ รพจ. ดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริการประชาชนที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง ขณะนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำสถิติ ในไตรมาสที่ 2 ต่อไป โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 1.ให้การดูแลผูป่วยโรคคความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานวิชาชีพ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการให้บริการผู้ป่วยความดันโลหิตสูงตามแผนงานที่วางไว้ โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างดำเนินการ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - จัดทำโปสเตอร์หน้าห้องตรวจ - คัดกรองให้ตรวจlipidอย่างน้อยปีละ1ครั้ง - ส่งไปปรึกษาคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลสิรินธร 1. จัดช่องทางส่งเสริมสนับสนุนความรู้ให้แก่ผู้ป่วยตามกลุ่มเป้าหมายให้มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ดังนี้ 1.1 จัดเข้ากลุ่มส่งเสริมความรู้ทุกวันพฤหัสบดี 1.2 ทำสื่อประชาสัมพันธ์ในการส่งเสริมความรู้โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 1.3 ส่งเสริมเข้าถึงช่องทางเข้าถึงความรู้ในการดูแลสุขภาตนแอง โดยผ่านระบบสารสนเทศ 2. ประเมินระดับความดันในผู้ป่วยตามกลุ่มเป้าหมายในทุกไตรมาส
** ปัญหาของโครงการ :โรงพยาบาลกลาง : ยอด ณ วันที่ 16 ม.ค.64 -15 ก.พ.64 โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ : จากผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวนมากทำให้บางรายไม่ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ครบตามมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ : สามารถสรุปตัวเลขสถิติได้เมื่อสิ้นสุดไตรมาส 2 โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ : ผู้ป่วยส่วนใหญ่ เป็นผู้ป่วยสูงอายุ อาศัยอยู่ตามลำพัง เนื่องจากลูกหลานออกไปทำงานนอกบ้าน ทำให้การจัดยาทานเองผิดและหลงลืมกินยาในบางวัน โรงพยาบาลสิรินธร : สรุปยอดผู้ป่วยได้เมื่อสิ้นสุดไตรมาส2
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2021-01-26)
26/01/2564 : โรงพยาบาลกลาง 3ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยสถิติ ต.ค. - 15 ม.ค. 2564 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 1,808 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 4,934 ราย คิดเป็นร้อยละ 36.64 โรงพยาบาลตากสิน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มาเข้ารับการรักษาที่คลินิกอายุรกรรม โรงพยาบาลตากสิน ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ จำนวน 1,136 คน จากผู้ป่วยความดันโลหิตที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการในโรงพยาบาลตากสิน จำนวน 2,051 คน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ รพจ. ดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริการประชาชนที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง ขณะนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำสถิติ ต่อไป โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ให้การดุแลผป.โรคความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ประชุมคณะกรรมการเพื่อกำหนดแนวทางในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงร่วมกัน โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร มีการให้บริการผู้ป่วยความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ จัดทำแผ่นพับให้ความรู้และการปฏิบัติตัวและจัดการสอนให้สุขศึกษา โรงพยาบาลสิรินธร "1. ประชุมคณะกรรมการเรื่องการดำเนินการดูแลผู้ป่วย และเพื่อรายงานยอดในช่วงไตรมาสที่ผ่านมาว่าเป็นอย่างไรบ้าง 2. สอนสุขศึกษาแบบกลุ่มโดย แพทย์,พยาบาล,นักกายภาพที่แผนกผู้ป่วยนอกอายุรกรรม ขณะรอตรวจ 3. ให้คำปรึกษารายบุคคลกรณีที่ค่าความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/100 mmHg. 4. ให้การดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานอย่างต่อเนื่องและเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อดำเนินการรายงานผลตามไตรมาส"
** ปัญหาของโครงการ :โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ "-ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยสูงอายุ อาศัยอยู่ตามลำพัง เนื่องจากลูกหลานออกไปทำงานนอกบ้าน ทำให้การจัดยาทานเองผิดและหลงลืมกินยาในบางวัน -เนื่องจากสถานะการณ์โควิดทำให้ผู้ป่วยไม่กล้าเข้ามารับบริการที่รพ.ทำให้ขาดยา"
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2020-12-25)
โรงพยาบาลกลาง - วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน 2563 นายแพทย์สมเกียรติ อัศวโรจน์พงษ์ รองผู้อำนวยการโรงพยาบาล ฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลกลาง เป็นประธานเปิดงาน วันเบาหวานโลก “พยาบาลกับเบาหวาน” พร้อมด้วยคณะผู้บริหารโรงพยาบาลกลาง บุคลากร และประชาชนร่วมงาน ในงานมีกิจกรรม คัดกรองเบาหวาน ตรวจวัดระดับน้ำตาล ตรวจวัดระดับไขมันในร่างกาย ให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคเบาหวาน การนับคาร์โบไฮเดรต และรู้ทันฉลากโภชนาการ สาธิตการทำอาหารว่างสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ตอบคำถามชิงรางวัล โดยทีมงานเบาหวาน โรงพยาบาลกลาง และร่วมกันเต้นบริหารร่างกาย โดยกิจกรรมทั้งหมดฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย ตั้งแต่เวลา 08.30 - 14.00 น. ณ บริเวณโถงหน้าลิฟต์ ชั้น 1 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี โรงพยาบาลกลาง - 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยสถิติวันที่ 16 ต.ค. - 15 พ.ย.63 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 622 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 1,594 ราย โรงพยาบาลตากสิน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มาเข้ารับการรักษาที่คลินิกอายุรกรรม โรงพยาบาลตากสิน ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ จำนวน 1214 คน จากผู้ป่วยความดันโลหิตที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการในโรงพยาบาลตากสิน จำนวน 2150 คน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการประชาชนที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง อย่างต่อเนื่อง ขณะนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูล โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินการประชุม หารือเพื่อวางแนวทาง แผนการดุแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการให้บริการแก่ผู้ป่วยเโรคความดันโลหิตสูงตามแนวทางที่วางไว้ โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการให้บริการแก่ผู้ป่วยเโรคความดันโลหิตสูงตามแนวทางที่วางไว้ คิดเป็นร้อยละ 35.20 โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 1. ผู้รับบริการที่เข้ามาในโรงพยาบาลได้รับการตรวจวัดความดันโลหิตทุกราย 2. มีการประเมินระดับความดันโลหิต เพิ่อค้นหากลุ่มเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูง 3. ดูแลให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลรักษาและการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น 4. ประสานกับสหสาขาวิชาชีพเพื่อดูแลผู้ป่วยร่วมกัน ส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับการรักษาทั้งสิ้น 9,294 ราย ได้รับการรักษาตามเกณฑ์ 3,506 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.72 โรงพยาบาลสิรินธร 1. ประสานบุคลากรและหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการตามแผนงานที่กำหนด นัดผู้ป่วยเข้ากิจกรรมส่งเสริมความรู้ในวันพฤหัสบดี 3. แนะนำช่องทางกาเข้าถึงความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง 4. ตรวจติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ระยะเวลาตั้งแต่ 1 ตุลาคม – 15 ธันวาคม 2563 พบว่า - ผู้ป่วยที่ควบคุมความดันโลหิตสูง 140/90 mmHg. จำนวน 48 ราย จาก 176 ราย - ผู้ป่วยที่ควบคุมความดันโลหิตสูง 140/80 mmHg. จำนวน 672 ราย จาก 3,410 ราย รวม ผู้ป่วยที่ควบคุมความดันโลหิตสูง 720 ราย จาก 3,586 ราย
** ปัญหาของโครงการ :โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงยังมีความเชื่อที่ไม่ถูกต้องจาก สื่อ ต่างๆทางอินเตอร์เน็ต นำมาซึ่งการปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง 2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง พบว่ามีภาวะ White coat hypertensionเมื่อมารพ. ซึ่งแตกต่างจากความดันที่ผู้ป่วยวัดติดตามความดันโลหิตที่บ้าน 3. พบว่ายังมีปัญหาในกลุ่มผู้ป่วยสูงอายุที่ต้องมี care giver เช่น การดูแลเรื่องการรับประทานยาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โรงพยาบาลสิรินธร เนื่องจากผู้ป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่ นัดรับยา ไตรมาสละ 1 ครั้ง ทำให้ต้องใช้ข้อมูล ทำให้ต้องใช้ข้อมูลย้อนหลัง 3 เดือน เพื่อหาค่าระดับความดันโลหิตสูง 2 ครั้งสุดท้าย
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-11-27)
27/11/2563 : โรงพยาบาลกลาง - ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยสถิติ ตั้งแต่ 1 - 15 ต.ค. 2563 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 315 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 852 ราย คิดเป็นร้อยละ 36.97 - ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยสถิติ ตั้งแต่ 1 - 15 พ.ย. 2563 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด 873 ราย จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด 2446 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.69 โรงพยาบาลตากสิน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มาเข้ารับการรักษาที่คลินิกอายุรกรรม โรงพยาบาลตากสิน ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ จำนวน 1880 คน จากผู้ป่วยความดันโลหิตที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการในโรงพยาบาลตากสิน จำนวน 3338 คน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ให้บริการผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ณ คลินิกอายุรกรรม ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 20 ปี ในวันราชการ จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.00-11.00 น. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ รพท. ดำเนินการจัดกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในคลินิกอายุรกรรมในโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม - 15 พฤศจิกายน 2563 โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อผู้บริหาร โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร 1. ทบทวนและจัดตั้งคณะทำงาน 2. จัดทำกิจกรรมและขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหาร 3. มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ อยู่ระหว่างการเตรียมจัดประชุมแบ่งตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการ 2564 โรงพยาบาลสิรินธร อยู่ระหว่างการมอบหมายผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดและการดำเนินงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการเบาหวานและความดัน ฝ่ายการพยาบาล (กลุ่มงานอายุรกรรม กลุ่มงานเวชศาสตร์ชุมชน) และฝ่ายวิชาการและแผนงาน
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-10-30)
30/10/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...วางแผนการดำเน้นงาน
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคความโลหิตที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 36
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 48.83
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **