ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวสุกัญญา ทองเกลี้ยง นางสาวปิยะมาศ คงมั่น โทร.0 2035 1862-3 ต่อ3
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
ปัญหาการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ นำมาซึ่งอันตรายและพิษภัยจากอาหารในรูปแบบต่างๆ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ คุณภาพชีวิตของประชาชน และเศรษฐกิจในภาพรวมด้วยเช่นกัน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมากรุงเทพมหานคร ได้มีการกวดขัน ควบคุม ดูแลคุณภาพ ความปลอดภัยของอาหารอย่างต่อเนื่อง และจัดทำมาตรฐาน ให้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย เพื่อเป็นการสร้างหลักประกันคุณภาพอาหาร เสริมสร้างความเชื่อมั่นในการเลือกบริโภคอาหารของประชาชน ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี และสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองอาหารปลอดภัย พัฒนางานด้านคุ้มครองผู้บริโภค อีกทั้งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ในด้านการท่องเที่ยว และเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งภาพรวมของประเทศไทย ต่อไป-//-
08960000/08960000
1. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 3. เพื่อสร้างภาพลักษณ์การสร้างหลักประกันคุณภาพอาหารของกรุงเทพมหานคร -//-
1. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 (ผลลัพธ์) 2. จัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี สำหรับผู้ประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ จำนวน 1,500 ชุด (ผลผลิต) 3. ตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ในเวลาราชการ จำนวน 20 วัน และนอกเวลาราชการ จำนวน 30 วัน ครอบคลุมสถานประกอบการในพื้นที่ 50 เขต (ผลผลิต) 4. จัดประชุมปรับปรุงพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง -//-
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2019-08-05)
5/8/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท รวมเป็นเงินใช้ไป 423,052.2 บาท คงเหลือ 15,947.8) (100%) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (300,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (งบประมาณที่ได้รับ 300,000 บาท เป็นเงิน 295,500 บาท คงเหลือ 4,500 บาท) 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และแผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 69.71 จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,494 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 13,592 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 5 สิงหาคม 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (100%) - จัดทำเอกสารเบิกจ่ายค่าอาหารทำการนอกเวลาฯครั้งที่ 3 (งบประมาณที่ได้รับ 12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป 12,000 บาท คงเหลือ - บาท) 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) (100%) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (งบประมาณที่ได้รับ 10,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป 9,927.20 คงเหลือ 72.80 บาท) 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (100%) - จัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการออกตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครครั้งที่ 2 เรียบร้อยแล้ว (งบประมาณที่ได้รับ 105,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป 105,000 บาท คงเหลือ – บาท) 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (100%) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว(งบประมาณที่ได้รับ 12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป 625 บาท คงเหลือ 11,375 บาท) -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 92.00 (2019-07-18)
18/7/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท รวมเป็นเงินใช้ไป 419,052.2 บาท คงเหลือ 19,947.8) (92%) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (322,000 บาท เป็นเงิน 295,500 บาท คงเหลือ 26,500 บาท) 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และแผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 63.22 จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,438 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 12,289 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 15 กรกฎาคม 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) (65%) - อยู่ระหว่างปฏิบัติงานนอกเวลาฯครั้งที่ 3 (12,000 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท) 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) (100%) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (10,000 บาท เป็นเงิน 9,927.20 คงเหลือ 72.80 บาท) 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท เป็นเงิน 105,000 บาท) (100%) - อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการออกตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ตามแผนครั้งที่ 2 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (100%) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว(12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป 625 บาท คงเหลือ 11,375 บาท) -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 91.00 (2019-07-05)
5/7/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท รวมเป็นเงินใช้ไป 366,552.2 บาท) (91%) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (322,000 บาท เป็นเงิน 295,500 บาท คงเหลือ 26,500 บาท) 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และแผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 63.22 จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,438 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 12,289 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 8 กรกฎาคม 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) (65%) - อยู่ระหว่างปฏิบัติงานนอกเวลาฯครั้งที่ 3 (12,000 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท) 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) (100%) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (10,000 บาท เป็นเงิน 9,927.20 คงเหลือ 72.80 บาท) 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท เป็นเงิน 52,500 บาท) (75%) - อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการออกตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ตามแผนครั้งที่ 2 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (100%) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว(12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป 625 บาท คงเหลือ 11,375 บาท) -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2019-06-14)
14/6/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท รวมเป็นเงินใช้ไป 366,552.2 บาท) (90%) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (322,000 บาท เป็นเงิน 295,500 บาท คงเหลือ 26,500 บาท) 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และแผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 54.95 จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,485 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 10,707 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 17 มิถุนายน 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างปฏิบัติงานนอกเวลาฯครั้งที่ 3 (12,000 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท) 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (10,000 บาท เป็นเงิน 9,927.20 คงเหลือ 72.80 บาท) 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท เป็นเงิน 52,500 บาท) - อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ตามแผนครั้งที่ 2 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป 625 บาท คงเหลือ 11,375 บาท) - จัดทำรายงานการประชุมเรียบร้อยแล้ว และจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (เป็นเงิน 625 บาท) -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2019-06-10)
2019-6-10 : 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 51.50 จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,506 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 10,046 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 5 มิถุนายน 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินครั้งที่ 2 และจัดทแผนปฏิบัติงานนอกเวลาฯครั้งที่ 3 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (เป็นเงิน 9,927.20) 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท เป็นเงิน 52,500 บาท) - อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ตามแผนครั้งที่ 2 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - จัดประชุม พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร กำหนดการจัดประชุมครั้งที่1ในวันที่ 17 พฤษภาคม 2562 ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างจัดทำรายงานการประชุม -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2019-05-16)
16/5/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) (65%) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (322,000 บาท เป็นเงิน 295,500 บาท คงเหลือ 26,500 บาท) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 47.12 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,429ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 9,155 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 16 พฤษภาคม 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท เบิกครั้งที่1เรียบร้อยแล้ว เป็นเงิน 4,000 บาท) - อยู่ระหว่างปฏิบัติงานนอกเวลาครั้งที่ 2 ระหว่างเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2562 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (เป็นเงิน 9,927.20) 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท เป็นเงิน 52,500 บาท) - อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ตามแผนครั้งที่ 2 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - เตรียมจัดประชุม พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร กำหนดการจัดประชุมครั้งที่1ในวันที่ 17 พฤษภาคม 2562 ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 57.00 (2019-05-07)
7/5/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) (57%) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - ส่งมอบงานแบ่งออกเป็น 5 งวด ส่งมอบงานงวดที่5 เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างเตรียมเอกสารเบิกจ่ายเงิน 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 43.62 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,353 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 8,441 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างปฏิบัติงานนอกเวลาครั้งที่ 2 ระหว่างเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2562 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (เป็นเงิน 9,927.20) 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท เป็นเงิน 52,500 บาท) - อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ตามแผนครั้งที่ 2 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - เตรียมจัดประชุม พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 51.00 (2019-04-19)
19/4/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - ส่งมอบงานแบ่งออกเป็น 5 งวด เบิกเงินงวดที่ 4 เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างส่งมอบงานงวดที่5 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 52.60 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,339 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 10,172 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 18 เมษายน 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - ปฏิบัติงานนอกเวลาครั้งที่ 1 ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม 2562เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารเบิกจ่าย 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (เป็นเงิน 9,927.20) 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - ดำเนินการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และเบิกจ่ายเงินปฏิบัติงานนอกเวลาราชการครั้งที่ 1 เรียบร้อยแล้ว (เป็นเงิน 52,500 บาท) อยู่ระหว่างปรับเปลี่ยนแผนการตรวจและแจ้งสำนักงานเขตทราบ 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - เตรียมจัดประชุม พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2019-04-05)
5/4/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - ส่งมอบงานแบ่งออกเป็น 5 งวด เบิกเงินงวดที่ 4 เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารเบิกจ่าย 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 52.60 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,339 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 10,172 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 5 เมษายน 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - ปฏิบัติงานนอกเวลาครั้งที่ 1 ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม 2562เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารเบิกจ่าย 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (เป็นเงิน 9,927.20) 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - ดำเนินการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และเบิกจ่ายเงินปฏิบัติงานนอกเวลาราชการครั้งที่ 1 เรียบร้อยแล้ว (เป็นเงิน 52,500 บาท) อยู่ระหว่างปรับเปลี่ยนแผนการตรวจและแจ้งสำนักงานเขตทราบ 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - เตรียมจัดประชุม พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 43.00 (2019-03-15)
15/3/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - ส่งมอบงานแบ่งออกเป็น 5 งวด เบิกเงินงวดที่ 3 เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างส่งมอบงานงวดที่ 4 (เป็นเงิน 177,300 บาท) 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 44.76 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,262 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 8,621 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 15 มีนาคม 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างปฏิบัติงานนอกเวลาครั้งที่ 1 ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม 2562 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว (เป็นเงิน 9,927.20) 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - ดำเนินการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร และเบิกจ่ายเงินปฏิบัติงานนอกเวลาราชการครั้งที่ 1 เรียบร้อยแล้ว (เป็นเงิน 52,500 บาท) 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - เตรียมจัดประชุม พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2019-03-07)
7/3/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - ส่งมอบงานแบ่งออกเป็น 5 งวด ส่งมอบงานงวดที่ 3 เรียบร้อยแล้ว เบิกจ่ายเงินงวด1และ2เรียบร้อยแล้ว (เป็นเงิน 118,200 บาท) 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 43.76 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,250 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 8,423 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 4 มีนาคม 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างปฏิบัติงานนอกเวลาครั้งที่ 1 ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม 2562 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - อยู่ระหว่างรอส่งวัสดุอุปกรณ์ 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - ตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครครั้งที่ 1เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ครั้งที่ 1 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างจัดทำแผนและกำหนดรายละเอียดการประชุม -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2019-02-13)
13/2/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - ส่งมอบงานแบ่งออกเป็น 5 งวด ส่งมอบงานงวดที่ 3 เรียบร้อยแล้ว (เป็นเงิน 118,200 บาท) 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 92.53 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,222 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 17,787ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 10 วัน เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินประจำงวดที่ 2 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อ 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - อยู่ระหว่างตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครครั้งที่ 1 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างจัดทำแผนและกำหนดรายละเอียดการประชุม -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(13) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2019-02-08)
8/2/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - ส่งมอบงานแบ่งออกเป็น 5 งวด ส่งมอบงานงวดที่ 2 เรียบร้อยแล้ว 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 91.77 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,195 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 17,615 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2562) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 10 วัน เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินประจำงวดที่ 2 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อ 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - อยู่ระหว่างตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครครั้งที่ 1 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างจัดทำแผนและกำหนดรายละเอียดการประชุม -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(14) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 13.00 (2019-01-15)
15/1/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - ส่งมอบงานแบ่งออกเป็น 5 งวด อยู่ระหว่างส่งมอบงานงวดที่ 1 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 99.40 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,037 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 18,922 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 15 มกราคม 2561) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานและจัดทำแผนปฏิบัติงานนอกเวลาฯ 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - จัดทำรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปเพื่อเตรียมดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - ตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครครั้งที่ 1 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างจัดทำแผนการประชุม -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(15) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 12.00 (2019-01-08)
8/1/2562 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - อยู่ระหว่างให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองฯ 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 99.40 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,037 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 18,922 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 8 มกราคม 2561) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานและจัดทำแผนปฏิบัติงานนอกเวลาฯ 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - จัดทำรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปเพื่อเตรียมดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว จัดทำแผนการการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครและแจ้งเวียนแผนการตรวจฯให้สำนักงานเขตทราบเรียบร้อยแล้ว 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างจัดทำแผนการประชุม -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(16) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2018-12-19)
19/12/2561 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - อยู่ระหว่างให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองฯ 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 99.40 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,037 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 18,922 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2561) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานและจัดทำแผนปฏิบัติงานนอกเวลาฯ 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - จัดทำรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปเพื่อเตรียมดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว จัดทำแผนการการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครและแจ้งเวียนแผนการตรวจฯให้สำนักงานเขตทราบเรียบร้อยแล้ว 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างจัดทำแผนการประชุม -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(17) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 9.00 (2018-12-07)
7/12/2561 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - ขออนุญาตใช้ลายมือชื่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิมพ์ประทับลงในใบรับรองฯเรียบร้อยแล้ว จัดประชุมแจ้งแนวทางการดำเนินงานให้กับสำนักงานเขตและ ส่งรายงานการประชุมให้กับสำนักงานเขตเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองฯ 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 99.40 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,037 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 18,922 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 6 ธันวาคม 2561) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานและจัดทำแผนปฏิบัติงานนอกเวลาฯ 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - จัดทำรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปเพื่อเตรียมดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว จัดทำแผนการการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครและแจ้งเวียนแผนการตรวจฯให้สำนักงานเขตทราบเรียบร้อยแล้ว 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างจัดทำแผนการประชุม -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(18) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 7.00 (2018-11-16)
16/11/2561 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวด ขออนุญาตใช้ลายมือชื่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิมพ์ประทับลงในใบรับรองฯ จัดทำแผนการการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดเตรียมการประชุมแจ้งแนวทางการดำเนินงานให้กับสำนักงานเขต อยู่ระหว่างให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองฯ 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 99.40 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,037 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 18,922 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2561) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานและขออนุมัติข้าราชการปฏิบัติงานนอกเวลาฯเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างจัดทำแผนปฏิบัติงานนอกเวลาฯ 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวด และจัดส่งรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปเพื่อดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวดและจัดทำแผนการตรวจประเมินฯ 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างจัดทำแผนการประชุม และขออนุมัติเงินงวด -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(19) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2018-11-06)
6/11/2561 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย (งบประมาณที่ได้รับ 439,000 บาท) 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (322,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,500 ชุด (เป็นเงิน 322,000 บาท) - อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวด ขออนุญาตใช้ลายมือชื่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิมพ์ประทับลงในใบรับรองฯ จัดทำแผนการการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดทำหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกจ้างจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยกรุงเทพมหานครเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 99.40 (จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 19,037 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 18,922 ราย)(ข้อมูล ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561) * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว และขออนุมัติให้ข้าราชการปฏิบัติงานนอกเวลาฯเรียบร้อยแล้ว 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) - จัดส่งรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปเพื่อดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง และขออนุมัติเงินงวด 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000 บาท) - อนุมัติแผนปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวดและจัดทำแผนการตรวจประเมินฯ 3.3 จัดประชุมปรับปรุง พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน (12,000 บาท) - อยู่ระหว่างจัดเตรียมวาระการประชุม และขออนุมัติเงินงวด -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(20) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 3.00 (2018-10-31)
31/10/2561 : กิจกรรมที่ 3 การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย รายละเอียดการดำเนินการ ดังนี้ อยู่ระหว่างขั้นตอนการขออนุญาตใช้ลายมือชื่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพิมพ์ประทับลงในใบรับรองฯ จัดทำแผนการการตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดทำร่างขอบเขตของงานและหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกจ้างจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยกรุงเทพมหานคร และขออนุมัติเงินงวด-//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (ผลลัพธ์) (บูรณาการ)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **