ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวสุกัญญา ทองเกลี้ยง นางสาวปิยะมาศ คงมั่น โทร.020351861-2 ต่อ3
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
ปัญหาการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ นำมาซึ่งอันตรายและพิษภัยจากอาหารในรูปแบบต่างๆ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ คุณภาพชีวิตของประชาชน และเศรษฐกิจในภาพรวมด้วยเช่นกัน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมากรุงเทพมหานคร ได้มีการกวดขัน ควบคุม ดูแลคุณภาพ ความปลอดภัยของอาหารอย่างต่อเนื่อง และจัดทำมาตรฐาน ให้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย เพื่อเป็นการสร้างหลักประกันคุณภาพอาหาร เสริมสร้างความเชื่อมั่นในการเลือกบริโภคอาหารของประชาชน ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี และสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองอาหารปลอดภัย พัฒนางานด้านคุ้มครองผู้บริโภค อีกทั้งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ในด้านการท่องเที่ยว และเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งภาพรวมของประเทศไทย ต่อไป -//-
08960000/08960000
1. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 3. เพื่อสร้างภาพลักษณ์การสร้างหลักประกันคุณภาพอาหารของกรุงเทพมหานคร -//-
1. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100 (ผลลัพธ์) 2. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) (ผลลัพธ์) 3. จัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครจำนวน 2,000 ชุด และจัดทำเฉพาะใบรับรองฯ จำนวน 10,000 ใบ (ผลผลิต) 4. ตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ในเวลาราชการ จำนวน 10 วัน และนอกเวลาราชการ จำนวน 30 วัน ในพื้นที่ 50 เขต (ผลผลิต) -//-
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-08-11)
11/08/2564 : 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 472,000บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 456,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 15,029.40 บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยแผ่นป้ายอะคริลิกและใบรับรอง จำนวน 2,000 ชุด เฉพาะใบรับรองฯ จำนวน 10,000 ใบ (เป็นเงิน 450,000 บาท) งบประมาณที่ใช้ไป 444,000 บาท คงเหลือ 6,000 บาท (100%) 3.1.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบรูปแบบป้ายรับรองฯ จัดทำรายละเอียดคุณลักษณะป้ายรับรองฯ เรียบร้อยแล้วและอยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร(ขอความเห็นชอบ) - อยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (ลงนามสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง) - ส่งมอบงานงวดที่ 1 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564 ตั้งฎีกาเบิกจ่ายงบประมาณเป็นเงิน 222,000 บาท - ส่งมอบงานงวดที่ 2 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 ตั้งฏีกาเบิกจ่ายงบประมาณเป็นเงิน 222,000 บาท 3.1.1.2 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อยร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 74.526 (จำนวนสถานประกอบการอาหาร ทั้งหมด 20,480 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 15,263 ราย) - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Green Service) จำนวน 6,345 ราย ร้อยละ 30.981 (ข้อมูล ณ วันที่ 11 สิงหาคม 2564) *หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯมีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 6,000 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 6,000 บาท) (100%) - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าอาหารทำการ - อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวดที่ 2 - จัดทำแผนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการระหว่างเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2564 และดำเนินการตามแผน - เบิกจ่ายเงินค่าอาหารทำการนอกเวลาของข้าราชการ ครั้งที่ 2 ระหว่างเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว - จัดทำแผนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการระหว่างเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2564 และดำเนินการตามแผน - เบิกจ่ายเงินค่าอาหารทำการนอกเวลาของข้าราชการ ครั้งที่ 3 ระหว่างมิถุนายน - กรกฎาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 10,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 9,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 29.40 บาท) (100%) - กำหนดรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ - ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆ ละ15 วัน (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 105,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 98,000 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 7,000 บาท) (100%) - จัดทำแผนการตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐานและแจ้งให้สำนักงานเขตทราบ และตรวจประเมินครั้งที่ 1 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารครั้งที่ 1 วันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 แล้ว จำนวน 13 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 90 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 60 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 30 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 354 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 4 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 552 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 6 ตัวอย่าง - เบิกจ่ายเงินงบประมาณค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1 เป็นเงิน 45,500 บาท - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ครั้งที่ 2 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 19 พฤษภาคม 2564 เพื่อตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐาน - ตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐาน ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 27 พฤษภาคม 2564 แล้ว จำนวน 15 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 99 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 78 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 21 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 291 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 1 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 423 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 32 ตัวอย่าง - เบิกจ่ายเงินงบประมาณค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2 เป็นเงิน 52,500 บาท -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2021-07-07)
07/07/2564 : 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 472,000บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 456,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 15,029.40 บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยแผ่นป้ายอะคริลิกและใบรับรอง จำนวน 2,000 ชุด เฉพาะใบรับรองฯ จำนวน 10,000 ใบ (เป็นเงิน 450,000 บาท) งบประมาณที่ใช้ไป 444,000 บาท คงเหลือ 6,000 บาท (100%) 3.1.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบรูปแบบป้ายรับรองฯ จัดทำรายละเอียดคุณลักษณะป้ายรับรองฯ เรียบร้อยแล้วและอยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร(ขอความเห็นชอบ) - อยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (ลงนามสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง) - ส่งมอบงานงวดที่ 1 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564 ตั้งฎีกาเบิกจ่ายงบประมาณเป็นเงิน 222,000 บาท - ส่งมอบงานงวดที่ 2 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 ตั้งฏีกาเบิกจ่ายงบประมาณเป็นเงิน 222,000 บาท 3.1.1.2 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อยร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 65.98 (จำนวนสถานประกอบการอาหาร ทั้งหมด 20,579 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 13,537 ราย) - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Green Service) จำนวน 5,432 ราย ร้อยละ 26.40 (ข้อมูล ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2564) *หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯมีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 3,000 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 9,000 บาท) (80%) - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าอาหารทำการ - อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวดที่ 2 - จัดทำแผนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการระหว่างเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2564 และดำเนินการตามแผน - เบิกจ่ายเงินค่าอาหารทำการนอกเวลาของข้าราชการ ครั้งที่ 2 ระหว่างเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว - จัดทำแผนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการระหว่างเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2564 และดำเนินการตามแผน 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 10,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 9,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 29.40 บาท) (100%) - กำหนดรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ - ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆ ละ15 วัน (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 105,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 98,000 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 7,000 บาท) (100%) - จัดทำแผนการตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐานและแจ้งให้สำนักงานเขตทราบ และตรวจประเมินครั้งที่ 1 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารครั้งที่ 1 วันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 แล้ว จำนวน 13 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 90 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 60 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 30 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 354 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 4 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 552 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 6 ตัวอย่าง - เบิกจ่ายเงินงบประมาณค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1 เป็นเงิน 45,500 บาท - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ครั้งที่ 2 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 19 พฤษภาคม 2564 เพื่อตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐาน - ตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐาน ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 27 พฤษภาคม 2564 แล้ว จำนวน 15 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 99 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 78 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 21 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 291 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 1 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 423 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 32 ตัวอย่าง - เบิกจ่ายเงินงบประมาณค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2 เป็นเงิน 52,500 บาท -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2021-06-10)
10/06/2564 : 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 472,000บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 456,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 15,029.40 บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยแผ่นป้ายอะคริลิกและใบรับรอง จำนวน 2,000 ชุด เฉพาะใบรับรองฯ จำนวน 10,000 ใบ (เป็นเงิน 450,000 บาท) งบประมาณที่ใช้ไป 444,000 บาท คงเหลือ 6,000 บาท (100%) 3.1.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบรูปแบบป้ายรับรองฯ จัดทำรายละเอียดคุณลักษณะป้ายรับรองฯ เรียบร้อยแล้วและอยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร(ขอความเห็นชอบ) - อยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (ลงนามสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง) - ส่งมอบงานงวดที่ 1 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564 ตั้งฎีกาเบิกจ่ายงบประมาณเป็นเงิน 222,000 บาท - ส่งมอบงานงวดที่ 2 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 ตั้งฏีกาเบิกจ่ายงบประมาณเป็นเงิน 222,000 บาท 3.1.1.2 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อยร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 57.75 (จำนวนสถานประกอบการอาหาร ทั้งหมด 20,549 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 11,865 ราย) - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Green Service) จำนวน 4,690 ราย ร้อยละ 22.83 (ข้อมูล ณ วันที่ 9 มิถุนายน 2564) *หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯมีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 3,000 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 9,000 บาท) (60%) - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าอาหารทำการ - อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวดที่ 2 - จัดทำแผนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการระหว่างเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2564 และดำเนินการตามแผน - เบิกจ่ายเงินค่าอาหารทำการนอกเวลาของข้าราชการ ครั้งที่ 2 ระหว่างเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว - จัดทำแผนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการระหว่างเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2564 และดำเนินการตามแผน 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 10,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 9,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 29.40 บาท) (100%) - กำหนดรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ - ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆ ละ15 วัน (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 105,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 98,000 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 7,000 บาท) (100%) - จัดทำแผนการตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐานและแจ้งให้สำนักงานเขตทราบ และตรวจประเมินครั้งที่ 1 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารครั้งที่ 1 วันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 แล้ว จำนวน 13 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 90 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 60 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 30 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 354 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 4 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 552 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 6 ตัวอย่าง - เบิกจ่ายเงินงบประมาณค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1 เป็นเงิน 45,500 บาท - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ครั้งที่ 2 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 19 พฤษภาคม 2564 เพื่อตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐาน - ตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐาน ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 27 พฤษภาคม 2564 แล้ว จำนวน 15 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 99 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 78 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 21 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 291 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 1 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 423 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 32 ตัวอย่าง - เบิกจ่ายเงินงบประมาณค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2 เป็นเงิน 52,500 บาท -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2021-05-07)
07/05/2564 : 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 472,000บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 231,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 240,029.40 บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยแผ่นป้ายอะคริลิกและใบรับรอง จำนวน 2,000 ชุด เฉพาะใบรับรองฯ จำนวน 10,000 ใบ (เป็นเงิน 450,000 บาท) งบประมาณที่ใช้ไป 222,000 บาท คงเหลือ 228,000 บาท (55%) 3.1.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบรูปแบบป้ายรับรองฯ จัดทำรายละเอียดคุณลักษณะป้ายรับรองฯ เรียบร้อยแล้วและอยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร(ขอความเห็นชอบ) - อยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (ลงนามสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง) - ส่งมอบงานงวดที่ 1 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564 ตั้งฎีกาเบิกจ่ายงบประมาณเป็นเงิน 222,000 บาท - ส่งมอบงานงวดที่ 2 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 3.1.1.2 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อยร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 43.22 (จำนวนสถานประกอบการอาหาร ทั้งหมด 20,441 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 8,834 ราย) - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Green Service) จำนวน 3,357 ราย ร้อยละ 16.42 (ข้อมูล ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2564) *หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯมีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน - บาท) (25%) - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าอาหารทำการ - อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวดที่ 2 - จัดทำแผนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการระหว่างเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2564 และดำเนินการตามแผน 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 10,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 9,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 29.40 บาท) (100%) - กำหนดรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ - ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆ ละ15 วัน (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 105,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 45,500 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 59,500 บาท) (70%) - จัดทำแผนการตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐานและแจ้งให้สำนักงานเขตทราบ และตรวจประเมินครั้งที่ 1 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารครั้งที่ 1 วันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 แล้ว จำนวน 13 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 90 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 60 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 30 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 354 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 4 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 552 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 6 ตัวอย่าง - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ครั้งที่ 2 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 19 พฤษภาคม 2564 เพื่อตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐาน - ตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐาน ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 19 พฤษภาคม 2564 แล้ว จำนวน 8 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 56 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 39 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 17 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 171 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 1 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 222 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 26 ตัวอย่าง -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2021-04-05)
05/04/2564 : 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 472,000บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 231,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 240,029.40 บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยแผ่นป้ายอะคริลิกและใบรับรอง จำนวน 2,000 ชุด เฉพาะใบรับรองฯ จำนวน 10,000 ใบ (เป็นเงิน 450,000 บาท) งบประมาณที่ใช้ไป 222,000 บาท คงเหลือ 228,000 บาท (50%) 3.1.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบรูปแบบป้ายรับรองฯ จัดทำรายละเอียดคุณลักษณะป้ายรับรองฯ เรียบร้อยแล้วและอยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร(ขอความเห็นชอบ) - อยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (ลงนามสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง) - ส่งมอบงานงวดที่ 1 เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564 ตั้งฎีกาเบิกจ่ายงบประมาณเป็นเงิน 222,000 บาท 3.1.1.2 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อยร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 38.30 (จำนวนสถานประกอบการอาหาร ทั้งหมด 20,330 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 7,786 ราย) - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Green Service) จำนวน 2,805 ราย ร้อยละ 13.80 (ข้อมูล ณ วันที่ 5 เมษายน 2564) *หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯมีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน - บาท) (20%) - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าอาหารทำการ - อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวดที่ 2 - จัดทำแผนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการระหว่างเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2564 และดำเนินการตามแผน 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 10,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 9,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 29.40 บาท) (100%) - กำหนดรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ - ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆ ละ15 วัน (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 105,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 45,500 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 59,500 บาท) (53%) - จัดทำแผนการตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐานและแจ้งให้สำนักงานเขตทราบ และตรวจประเมินครั้งที่ 1 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารครั้งที่ 1 วันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 แล้ว จำนวน 13 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 90 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 60 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 30 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 354 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 4 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 552 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 6 ตัวอย่าง - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ครั้งที่ 2 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 19 พฤษภาคม 2564 เพื่อตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐาน - ตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐาน ครั้งที่ 2 จำนวน จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 7 เมษายน – 19 พฤษภาคม 2564 -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2021-03-11)
11/03/2564 : 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 472,000บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 9,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 462,029.40 บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยแผ่นป้ายอะคริลิกและใบรับรอง จำนวน 2,000 ชุด เฉพาะใบรับรองฯ จำนวน 10,000 ใบ (เป็นเงิน 450,000 บาท) (14%) 3.1.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบรูปแบบป้ายรับรองฯ จัดทำรายละเอียดคุณลักษณะป้ายรับรองฯ เรียบร้อยแล้วและอยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร(ขอความเห็นชอบ) - อยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (ลงนามสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง) - อยู่ระหว่างส่งมอบงานงวดที่ ๑ 3.1.1.2 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อยร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 26.20 (จำนวนสถานประกอบการอาหาร ทั้งหมด 20,321 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 5,324 ราย) - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Green Service) จำนวน 1,728 ราย ร้อยละ 8.50 (ข้อมูล ณ วันที่ 11 มีนาคม 2564) *หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯมีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน - บาท) (10%) - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าอาหารทำการ - อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวดที่ 2 - อยู่ระหว่างจัดทำแผนและขออนุมัติให้ข้าราชการปฏิบัติงานในเดือนมีนาคม 2564 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 10,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 9,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 29.40 บาท) (100%) - กำหนดรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ - ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆ ละ15 วัน (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 105,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 45,500 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 59,500 บาท) (52%) - จัดทำแผนการตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐานและแจ้งให้สำนักงานเขตทราบ และตรวจประเมินครั้งที่ 1 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารครั้งที่ 1 วันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 แล้ว จำนวน 13 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 90 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 60 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 30 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 354 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 4 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 552 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 6 ตัวอย่าง - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ครั้งที่ 2 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 19 พฤษภาคม 2564 เพื่อตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐาน -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2021-02-08)
2/8/2021 : 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 472,000บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 9,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 462,029.40 บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยแผ่นป้ายอะคริลิกและใบรับรอง จำนวน 2,000 ชุด เฉพาะใบรับรองฯ จำนวน 10,000 ใบ (เป็นเงิน 450,000 บาท) (12%) 3.1.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบรูปแบบป้ายรับรองฯ จัดทำรายละเอียดคุณลักษณะป้ายรับรองฯ เรียบร้อยแล้วและอยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร(ขอความเห็นชอบ) - อยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (ลงนามสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง) 3.1.1.2 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อยร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 19.48 (จำนวนสถานประกอบการอาหาร ทั้งหมด 20,281 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 3,951 ราย) - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Green Service) จำนวน 1,083 ราย ร้อยละ 5.34 (ข้อมูล ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2564) *หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯมีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน - บาท) (9%) - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าอาหารทำการ - อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวดที่ 2 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 10,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 9,970.60 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 29.40 บาท) (100%) - กำหนดรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ - ดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆ ละ15 วัน (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 105,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 45,500 บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน 59,500 บาท) (50%) - จัดทำแผนการตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐานและแจ้งให้สำนักงานเขตทราบ และตรวจประเมินครั้งที่ 1 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารครั้งที่ 1 วันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 แล้ว จำนวน 13 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 90 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 60 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 30 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 354 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 4 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 552 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 6 ตัวอย่าง -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 7.00 (2021-01-12)
12/01/2564 : 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 472,000บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน - บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยแผ่นป้ายอะคริลิกและใบรับรอง จำนวน 2,000 ชุด เฉพาะใบรับรองฯ จำนวน 10,000 ใบ (เป็นเงิน 450,000 บาท) (10%) 3.1.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร - ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบรูปแบบป้ายรับรองฯ จัดทำรายละเอียดคุณลักษณะป้ายรับรองฯ เรียบร้อยแล้วและอยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร(ขอความเห็นชอบ) 3.1.1.2 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อยร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 7.08 (จำนวนสถานประกอบการอาหาร ทั้งหมด 20,294 ราย จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ 1,437 ราย) - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Green Service) จำนวน 191 ราย ร้อยละ 0.94 (ข้อมูล ณ วันที่ 11 มกราคม 2564) *หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯมีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 12,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน - บาท) (8%) - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าอาหารทำการ - อยู่ระหว่างขออนุมัติเงินงวดที่ 2 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 10,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน - บาท) (10%) - กำหนดรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 105,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน - บาท, งบประมาณคงเหลือ จำนวน - บาท) (8%) - จัดทำแผนการตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐานและแจ้งให้สำนักงานเขตทราบ และตรวจประเมินครั้งที่ 1 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารครั้งที่ 1 วันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564แล้ว จำนวน 8 วัน ดังนี้ - ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหาร จำนวน 40 ราย ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 27 ราย ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 13 ราย - สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อน โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (test kit) จำนวน 149 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน จำนวน 2 ตัวอย่าง - สุ่มตรวจความสะอาดอาหาร มือผู้สัมผัสอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ โดยใช้ชุดทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 282 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน จำนวน 6 ตัวอย่าง -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 6.00 (2020-12-15)
15/12/2563 : 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (472,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยแผ่นป้ายอะคริลิกและใบรับรอง จำนวน 2,000 ชุด เฉพาะใบรับรองฯ จำนวน 10,000 ใบ (เป็นเงิน 450,000 บาท) (6%) 3.1.1.1 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบรูปแบบป้ายรับรองฯ จัดทำรายละเอียดคุณลักษณะป้ายรับรองฯ และจัดจ้างทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร 3.1.1.2 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อยร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - อยู่ระหว่างรวบรวมรายชื่อและจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยให้กับสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) (6%) - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าอาหารทำการ 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) (7%) - กำหนดรายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องการจัดซื้อ 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000) (7%) - จัดทำแผนการตรวจประเมินติดตามกำกับมาตรฐานและแจ้งให้สำนักงานเขตทราบ และตรวจประเมินครั้งที่ 1 จำนวน 15 วัน ระหว่างวันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 21 มกราคม 2564 -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-11-10)
10/11/2563 : 3.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (472,000บาท) 3.1.1 การจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยแผ่นป้ายอะคริลิกและใบรับรอง จำนวน 2,000 ชุด เฉพาะใบรับรองฯ จำนวน 10,000 ใบ (เป็นเงิน 450,000 บาท) (5%) 3.1.1.1 เป้าหมายสถานประกอบการอาหาร ประเภท ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร และ แผงลอยอาหาร มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อยร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดที่ได้รับใบอนุญาต - สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 0 * หมายเหตุ : ป้ายรับรองฯ มีอายุการรับรอง 1 ปี 3.1.2 การรวบรวมรายชื่อสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จัดพิมพ์ลงในใบรับรองฯ และใส่กรอบอะคริลิค พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของป้ายรับรองฯและบันทึกลงในฐานข้อมูล ค่าอาหารทำการนอกเวลาข้าราชการและลูกจ้างเพื่อจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 10 วัน จำนวน 3 ครั้ง (12,000 บาท) (5%) - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าอาหารทำการ 3.1.3 ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ (10,000 บาท) (5%) - ขออนุมัติเงินงวดที่ 1 3.2 การตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐานการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการออกตรวจประเมิน ติดตามกำกับมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 2 ครั้งๆละ15 วัน (105,000) (5%) - ขออนุมัติแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ เพื่อตรวจประเมินติดตาม กำกับมาตรฐาน -//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2020-10-27)
27/10/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน ขออนุมัติเงินประจำงวด-//-
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-//-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-//-
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร(ผลลัพธ์)ร้อยละของสถานประกอบอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดีฯ (Green Service)(ผลลัพธ์)(ตัวชี้วัดบูรณาการ)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **