ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (กภก.) : 08000000-6393

สำนักอนามัย : (2564)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

นางสาวณัฐสินี วิสุทธิกุล โทร 025808782

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3 100

หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันผู้บริโภคให้ความสนใจเรื่องการดูแลสุขภาพมากขึ้น และในปัจจุบันผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความหลากหลายมากขึ้น ตลอดจนการเข้าถึงผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความสะดวกและเข้าถึงได้มากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีโรคประจำตัวหลายโรค ทำให้ประชาชนอาจมีความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายจากผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยหรือไม่เหมาะสมมากขึ้น กองเภสัชกรรมได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและเห็นความจำเป็นที่ต้องเพิ่มความรู้ ความเข้าใจเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่ประชาชนมากขึ้น อย่างไรก็ตามยังพบว่ามีข้อจำกัดในการให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และการให้บริการในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง จึงทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประกอบกับศูนย์บริการสาธารณสุขซึ่งเป็นหน่วยบริการปฐม มีการดำเนินงานร่วมกับมีเครือข่ายภาคประชาชน ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) ที่ใกล้ชิดและได้รับความไว้วางใจจากประชาชน ทำให้สามารถเข้าถึงและเผยแพร่ข้อมูล พร้อมให้การดูแลแก่ประชาชนได้ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ การจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ มุ่งหวังพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในการดำเนินงานเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในชุมชน สามารถเข้าถึงการให้บริการในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างทั่วถึง มีความรู้ มีความปลอดภัยในการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น และมีพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดีขึ้น

08110000/08110000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในการดำเนินงานเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน

เป้าหมายของโครงการ

ศูนย์บริการสาธารณสุขและกองเภสัชกรรม สำนักอนามัย มีการดำเนินกิจกรรมตามภารกิจงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดำเนินงานเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร%
๑.๖.๑.๑ คัดกรองและลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-08)

100.00

08/09/2564 : กิจกรรมที่่ 1 ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง มีการดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน และเบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย จำนวน 199,727.30 บาท เสร็จเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 2 เบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย จำนวน 99,040 บาท เสร็จเรียบร้อยแล้ว และกองเภสัชกรรม ได้ดำเนินการส่งสื่อให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง เรียบร้อยแล้ว โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ดำเนินการเบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย รวมทั้งสิ้น 298,767.30 บาท โดยได้รวบรวมข้อมูลและสรุปผลโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างนำเสนอผู้บริหาร

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2021-08-18)

75.00

18/08/2564 : กิจกรรมที่่ 1 อยู่ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน และอยู่ระหว่างรอเบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย จำนวน 199,727 บาท กิจกรรมที่ 2 เบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย จำนวน 99,040 บาท เสร็จเรียบร้อยแล้ว และกองเภสัชกรรม ได้ดำเนินการส่งสื่อให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง เรียบร้อยแล้ว

** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด19) และกรุงเทพมหานครยังอยู่ในกลุ่มพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ทำให้ศูนย์บริการสาธารณสุข มีข้อจำกัดในการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน จึงอาจทำให้ผลการดำเนินการที่ได้ไม่ครอบคลุมทุกชุมชนในกรุงเทพมหานคร

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2021-07-12)

40.00

12/07/2564 : กิจกรรมที่่ 1 อยู่ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน และอยู่ระหว่างการติดตามการดำเนินกิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ กิจกรรมที่ 2 อยู่ระหว่างจัดส่งสื่อให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้ศูนย์บริการสาธารณสุข

** ปัญหาของโครงการ :ด้วยสถานการณ์แพร่ระบาดของการติดเชื้อโรคโควิด 19 ทำให้ศูนย์บริการสาธารณสุขมีข้อจำกัดในการดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งอาจกระทบต่อการดำเนินกิจกรรมบางรายการ เช่น กิจกรรมการเผยแพร่ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เครือข่ายฯ และประชาชน กิจกรรมสำรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพพร้อมให้ความรู้แก่ผู้บริโภค เป็นต้น

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2021-06-04)

30.00

04/06/2564 : กิจกรรมที่ 1 อยู่ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณพ์สุขภาพในชุมชน กิจกรรมที่ 2 อยู่ระหว่างจัดทำสื่อให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :ด้วยสถานการณ์แพร่ระบาดของการติดเชื้อโรคโควิด 19 ทำให้ศูนย์บริการสาธารณสุขมีข้อจำกัดในการดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งอาจกระทบต่อการดำเนินกิจกรรมบางรายการ เช่น กิจกรรมการเผยแพร่ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เครือข่ายฯ และประชาชน กิจกรรมสำรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพพร้อมให้ความรู้แก่ผู้บริโภค เป็นต้น

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 29.00 (2021-05-11)

29.00

11/05/2564 : กิจกรรมที่ 1 อยู่ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขเริ่มดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน กิจกรรมที่ 2 อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติจัดทำสื่อให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ

** ปัญหาของโครงการ :ด้วยสถานการณ์แพร่ระบาดของการติดเชื้อโรคโควิด 19 ทำให้ศูนย์บริการสาธารณสุขมีข้อจำกัดในการดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งอาจกระทบต่อการดำเนินกิจกรรมบางรายการ เช่น กิจกรรมการเผยแพร่ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เครือข่ายฯ และประชาชน กิจกรรมสำรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพพร้อมให้ความรู้แก่ผู้บริโภค เป็นต้น

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 27.00 (2021-04-16)

27.00

16/04/2564 : อยู่ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขเริ่มดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของการติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ทำให้ศูนย์บริการสาะารณสุขมีข้อจำกัดในการดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน และมีความจำเป็นต้องชะลอการดำเนินกิจกรรม เช่น การเผยแพร่ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ การสำรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน เป็นต้น

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2021-03-15)

25.00

15/03/2564 : ชี้แจงแนวทางการดำเนินกิจกรรมให้ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ตามหนังสือกองเภสัชกรรมที่ กท 0710/165 ลงวันที่ 5 มี.ค. 2564 เรื่อง ประชาสัมพันธ์แนวทางการดำเนินสื่อกิจกรรมตามโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 7.00 (2021-02-15)

7.00

2/15/2021 : ผู้อำนวยการสำนักอนามัย ได้อนุมัติโครงการฯ และอนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย ตามหนังสือกองเภสัชกรรมที่ กท 0710/67 ลงวันที่ 26 ม.ค. 64 และอยู่ระหว่างชี้แจงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2021-01-15)

5.00

1/15/2021 : อยู่ระหว่างขั้นตอนแก้ไขรายละเอียดโครงการและเสนอขออนุมัติโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ และขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย ปีงบประมาณ 2564

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 4.00 (2020-12-15)

4.00

12/15/2020 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอขออนุมัติโครงการ และขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 3.00 (2020-11-09)

3.00

9/11/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอขอเงินนอกงบประมาณ(บัญชี)โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 2.00 (2020-10-27)

2.00

27/10/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนเสนอขอเห็นชอบในหลักการใช้เงินนอกงบประมาณ

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:วางแผนขออนุมัติโครงการฯ และจัดทำแผนการปฏิบัติงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:ตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการฯ
:10.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:ชี้แจงการดำเนินกิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุข
:10.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:กิจกรรมที่ 1 การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
:50.00%
เริ่มต้น :2020-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:กิจกรรมที่ 2 จัดทำสื่อให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
:10.00%
เริ่มต้น :2020-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:ติดตามการดำเนินกิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
:5.00%
เริ่มต้น :2020-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:รวบรวมข้อมูลและสรุปผลโครงการ
:10.00%
เริ่มต้น :2021-07-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-07-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 08000000-6393

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 08000000-6393

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 0800-6603

ตัวชี้วัด : ร้อยละของเครือข่ายความร่วมมือในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เพิ่มขึ้น

ค่าเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 จากปีที่มา : 10

ผลงานที่ทำได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 จากปีที่มา : 12.09

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 จากปีที่มา)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
12.09

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **