ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

ค่าใช้จ่ายในการบริหารอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ : 22000000-4120

สํานักสิ่งแวดล้อม : (2564)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ฝ่ายวิชาการ สสณ. 2527

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3 100

หลักการและเหตุผล

ค่าใช้จ่ายในการบริหารอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ (สสณ./07199-4/1,135,000 บาท) สำนักสิ่งแวดล้อม รับผิดชอบการดำเนินงานอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นโครงการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับผีเสื้อและแมลงต่าง ๆ และความสำคัญของแมลงต่อระบบนิเวศ ที่ทำการตั้งอยู่ ณ บริเวณด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของสวนวชิรเบญจทัศ ใกล้กับเขตติดต่อสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ประกอบด้วย อาคารพื้นที่ประมาณ 2,035.5 ตารางเมตร เป็นส่วนอำนวยการและบริหารจัดการ มีการจัดแสดงชุดนิทรรศการ และกิจกรรมในรูปแบบที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ชม มีห้องฉายวีดีทัศน์และกรงผีเสื้อแบบ Walk in พื้นที่ประมาณ 1,168 ตารางเมตร ประชาชนสามารถเดินเข้าไปชมภายในได้ มีการจัดภูมิทัศน์แบบธรรมชาติที่สวยงามมีทางเดินชมผีเสื้อและพืชพรรณไม้โดยรอบ บริเวณรอบนอกอาคารพื้นที่ประมาณ 6 ไร่เศษ มีการจัดภูมิทัศน์เพื่อให้มีผีเสื้อจากธรรมชาติและที่ผลิตปล่อยออกสู่ธรรมชาติเข้ามาเกาะดูดน้ำหวานและมีต้นไม้ใหญ่ให้ดอกและร่มเงา ผีเสื้อเป็นแมลงจำพวกบริโภคใบไม้ใบหญ้าจำนวนมหาศาลในแต่ละปี และในขณะเดียวกันผีเสื้อเองก็เป็นอาหารที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุและพลังงานที่เป็นประโยชน์ต่อสัตว์และพืชอื่น ๆ ด้วยเช่นกัน ผีเสื้อเป็นสัตว์ที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่มันอาศัยอยู่ นักวิทยาศาสตร์จึงใช้ปริมาณและความหลากหลายที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงของผีเสื้อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการประเมินคุณภาพของสิ่งแวดล้อม ความสมบูรณ์ และความหลากหลายของระบบนิเวศในบริเวณนั้น อุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ ผลิตผีเสื้อนานาชนิดซึ่งมีจำนวนกว่า 20 ชนิด โดยแต่ละชนิดต้องการพืชอาหารแตกต่างกัน เพื่อให้ผีเสื้อชนิดต่าง ๆ สามารถดำรงชีวิต ขยายพันธุ์ วางไข่ได้เสมือนกับอยู่ในสภาพธรรมชาติ จึงจำเป็นต้องผลิตพืชอาหารและพืชให้น้ำหวานชนิดต่าง ๆ จำนวนมหาศาล เพื่อให้ผีเสื้อสามารถดำรงชีวิตได้ตามวงจรชีวิต (Life cycle) ครบทั้ง 4 ขั้น การดำเนินการผลิตพืชอาหาร ต้องเป็นกระบวนการที่สอดคล้องกันกับชนิดและปริมาณของผีเสื้อที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งยังทำการ ศึกษาวิธีการและแนวทางในการเพาะเลี้ยงผีเสื้อที่ยังไม่เคยเพาะเลี้ยงทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้สามารถเจริญเติบโตและเจริญพันธุ์ได้ในอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นการอนุรักษ์พันธุ์ผีเสื้อที่กำลังจะสูญพันธุ์ อีกทางหนึ่งด้วย นอกจากนี้ยังจัดอบรมเพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ผีเสื้อให้กับประชาชนทั่วไป อุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ จะเป็นจุดเริ่มต้นให้นำมาซึ่งผลการศึกษาการเพาะเลี้ยงผีเสื้อและแมลงในแหล่งธรรมชาติของประเทศ เพื่อเผยแพร่ให้กับผู้คนทั่วไปได้รับรู้ว่าสิ่งที่ธรรมชาติได้สร้างขึ้น โดยปราศ จากการปรุงแต่งมีคุณค่าควรแก่การปกป้องไว้เพียงใด ความรักธรรมชาตินั้นมีอยู่ในมนุษย์ทุกคน เพียงแต่ขาดโอกาสที่จะนำความรู้ที่ได้นั้น มาสร้างสรรค์และรักษาธรรมชาติให้คงอยู่ การเสริมสร้างองค์ความรู้และสร้างจิตสำนึกให้ผู้คนมีใจรักธรรมชาติ จึงเป็นวิธีการที่จะรักษาธรรมชาติอันพึงสงวนนี้ให้มั่นคงสืบต่อ ๆ กันไปได้

22060000/22060000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

ค่าใช้จ่ายในการบริหารอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ (สสณ./07199-4/1,135,000 บาท) 2.1 เพื่อเป็นห้องเรียนธรรมชาติสำหรับเด็ก นักเรียน เยาวชนและประชาชนเกิดการศึกษาเรียนรู้ จะเกิดจิตสำนึกรักและช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามธรรมชาติเป็นการสร้างแหล่งเรียนรู้นำร่องที่สมบูรณ์แบบสอดคล้องกับมาตรา 25 ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยไม่จำกัดการเรียนการสอนอยู่เพียงในห้องเรียนเท่านั้น 2.2 เพื่อเป็นสถานที่สำหรับศึกษา ค้นคว้า วิจัย รวบรวมแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องพันธุ์ผีเสื้อและแมลง วงจรชีวิต (Life cycle) รวมทั้งชีวิตความเป็นอยู่ของผีเสื้อและแมลงในด้านความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ที่สัมพันธ์กับระบบนิเวศ (Ecosystem) 2.3 เพื่อเป็นแหล่งนันทนาการ ที่พักผ่อนหย่อนใจ ให้ความเพลิดเพลินในการชมผีเสื้อที่มีสีสันสวยงามเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีเพียงแห่งแรกแห่งเดียวในกรุงเทพมหานคร โดยไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปดูที่ต่างจังหวัด

เป้าหมายของโครงการ

ค่าใช้จ่ายในการบริหารอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ (สสณ./07199-4/1,135,000 บาท) 3.1 ดูแลและรักษาภูมิทัศน์ ทั้งภายในกรงผีเสื้อและภายนอกอาคาร ให้มีสภาพสวยงามและเหมาะสมสำหรับการเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของผีเสื้อและน่าดึงดูดใจสำหรับนักท่องเที่ยวซึ่งมีทั้งพืชพรรณที่ให้ร่มเงา เป็นที่อาศัยวางไข่และพืชอาหารของผีเสื้อ ไม้ประดับไม้ดอก ที่ให้สีสันสดใส เป็นพืชอาหารและให้น้ำหวานแก่ผีเสื้อ ตลอดจนไม้น้ำและพืชคลุมดินต่าง ๆ องค์ประกอบของภูมิทัศน์ยังมีแหล่งน้ำและน้ำตกที่ต้องดูแลบำรุงรักษาเป็นอย่างดี มีความสะอาด ไม่เน่าเสีย 3.2. งานผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลพันธุ์ไม้ในเรือนเพาะชำ พื้นที่ประมาณ 1 ไร่เศษ โดย จะต้องมีการวางแผนการผลิตทั้งไม้ยืนต้น ไม้ดอกไม้ประดับและพืชอาหารของตัวหนอน ตลอดจนพืชให้น้ำหวานสำหรับใช้เลี้ยงผีเสื้อภายในกรงให้มีการหมุนเวียนสับเปลี่ยนอย่างเพียงพอ อย่างต่ำเดือนละ 10,000 ต้น 3.3 จัดหา ผลิตและเลี้ยงผีเสื้อนานาพันธุ์ การเก็บไข่ หนอนผีเสื้อ นำมาอนุบาลที่ห้องเพาะเลี้ยง หาอาหารให้หนอนผีเสื้อ จัดหาและทำความสะอาดอุปกรณ์การเลี้ยงทุกวัน เช่น กล่องเลี้ยงตัวหนอน ดูแลอนุบาลดักแด้ ไม่ให้เกิดโรคหรือถูกตัวห้ำตัวเบียนเข้าทำลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดเป็นผีเสื้อแล้ว ให้อยู่ ในสภาพสมบูรณ์ ไม่พิการ ตลอดจนงานเก็บซากผีเสื้อที่ตายในกรง (โดยทั่วไปผีเสื้อมีอายุเฉลี่ย 3 - 10 วัน เท่านั้น) และนำมาสต๊าฟ รวมทั้งรวบรวมหมวดหมู่ตามหลักอนุกรมวิธาน โดยจะต้องให้มีผีเสื้อในกรงไม่ต่ำกว่า 20 ชนิด จำนวน 25,000 - 35,000 ตัว ตลอดทั้งปี 3.4 ต้อนรับและให้บริการประชาชน อำนวยการและดูแลบำรุงรักษาให้ชุดนิทรรศการ ที่จัดแสดง ห้องวีดีทัศน์พร้อมอุปกรณ์ต่าง ๆ พร้อมใช้งาน อำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้าชมภายในได้โดยคาดว่าจะมี ผู้เข้าชมโดยเฉลี่ยปีละ 100,000 - 140,000 คน 3.5 สำรวจพันธุ์ผีเสื้อ พร้อมพืชอาหาร พืชให้น้ำหวานของผีเสื้อจากแหล่งต่าง ๆ ทั่วประเทศ นำมาเพาะปลูกขยายพันธุ์ให้มีปริมาณมากเพียงพอกับความต้องการบริโภคของผีเสื้อนานาชนิด 3.6 ประชาสัมพันธ์เผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้ ผลิตสื่อเอกสารประชาสัมพันธ์ เอกสารคู่มือ ที่เกี่ยวโยงกับอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ การประชาสัมพันธ์ตามสื่อทุกประเภท

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
๒.๒.๑.๒ อนุรักษ์ ฟื้นฟูและรักษาพื้นที่สีเขียวเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-30)

100.00

30/09/2564 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 8,715 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 1,302 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 3,019 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน สิงหาคม 2564 มีจำนวนทั้งสิ้น – คน 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 9,250 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 1,635 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 2,744 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน กันยายน 2564 จำนวน1ทั้งสิ้น 3,379 คน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2021-08-25)

85.00

25/08/2564 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 7,030 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 3,030 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 2,148 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน กรกฏาคม 2564 (เปิดบริการ 1-22 ก.ค. 64) มีจำนวนททั้งสิ้น 551 คน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2021-07-29)

75.00

29/07/2564 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 7,063 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 684 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 1,295 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน มิถุนายน 2564 (เปิดบริการ 15-30 มิ.ย. 64) มีจำนวนททั้งสิ้น 790 คน 5. งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ – ประชาสัมพันธ์ด้านสื่อโซเชียล

** ปัญหาของโครงการ :1-14 มิ.ย. 64 ปิดให้บริการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นการระบาดระลอกใหม่นี้ได้กระจายออกไปในหลายพื้นที่ค่อนข้างเร็ว

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 63.00 (2021-06-28)

63.00

28/06/2564 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 11,505 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 1,735 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 2,147 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – ไม่มีประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน พฤษภาคม 2564 5. งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ – ประชาสัมพันธ์ด้านสื่อโซเชียล

** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโควิด กรุงเทพมหานครจึงมีประกาศปิดบริการสวนสาธารณะ ซึ่งอุทยานผีเสื่อและแมลงอยู่ในบริเวณสวนวชิรเบญจัศ

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 57.00 (2021-05-27)

57.00

27/05/2564 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 7,760 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 1,130 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 2,180 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน เมษายน 2564 มีจำนวนทั้งสิ้น 2,057 คน - สถาบันการศึกษา 3 แห่ง 5. งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ – ประชาสัมพันธ์ด้านสื่อโซเชียล

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 51.00 (2021-04-27)

51.00

27/04/2564 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 12,005 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 889 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 2,338 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน มีนาคม 2564 มีจำนวนทั้งสิ้น 3,085 คน - สถาบันการศึกษา 3 แห่ง 5. งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ – ประชาสัมพันธ์ด้านสื่อโซเชียล

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 44.00 (2021-03-25)

44.00

25/03/2564 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 7,415 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 1,154 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 2,309 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน มกราคม 2563 มีจำนวนทั้งสิ้น 3,835 คน - หน่วยงานขอถ่ายทำ 1 แห่ง 5. งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ – ประชาสัมพันธ์ด้านสื่อโซเชียล

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 38.00 (2021-02-23)

38.00

2/23/2021 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 10,119 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 1,055 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 2,798 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน มกราคม 2563 มีจำนวนทั้งสิ้น 3,730 คน 5. งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ – ประชาสัมพันธ์ด้านสื่อโซเชียล

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 33.00 (2021-01-28)

33.00

1/28/2021 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 3,540 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 912 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 5,621 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน ธันวาคม 2563 มีจำนวนทั้งสิ้น 7,019 คน - สถาบันการศึกษา 2 แห่ง 5. งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ – ประชาสัมพันธ์ด้านสื่อโซเชียล

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2020-12-25)

25.00

25/12/2563 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 10,290 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 1,831 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 3,635 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน พฤศจิกายน 2563 มีจำนวนทั้งสิ้น 3,531 คน - สถาบันการศึกษา 2 แห่ง 5. งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ – ประชาสัมพันธ์ด้านสื่อโซเชียล

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 18.00 (2020-11-30)

18.00

30/11/2563 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 9,937 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 1,794 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 3,252 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน ตุลาคม 2563 มีจำนวนทั้งสิ้น 3,350 คน - สถาบันการศึกษา 1 แห่ง 5. งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ – ประชาสัมพันธ์ด้านสื่อโซเชียล

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-10-25)

5.00

25/10/2563 : 1. งานบริการดูแลภูมิทัศน์ ดำเนินการ – ดูแลบำรุงรักษาภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกกรงแสดงผีเสื้อ ประดับตกแต่ง ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้คลุมดิน ปลูกพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ พืชให้น้ำหวานสำหรับผีเสื้อตัวเต็มวัย รวมทั้งการจัดการด้านอื่นๆ เช่น การรดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดแต่ง ตัดหญ้า เก็บกวาดทำความสะอาด กำจัดวัชพืช 2. การผลิตพันธุ์ไม้และอนุบาลไม้ในเรือนเพาะชำ ดำเนินการ – ผลิตพันธุ์ไม้ สำหรับเป็นพืชอาหารของหนอนผีเสื้อ จำนวน 9,091 ต้น - พันธุ์ไม้ที่ให้น้ำหวานและปลูกประดับตกแต่ง จำนวน 326 ต้น 3. จัดหาผลิตและเลี้ยงผีเสื้อกลางวันนานาพันธุ์ ดำเนินการ – ผลิตผีเสื้อกลางวัน จำนวน 3,787 ตัว 4. งานต้อนรับและให้บริการ ดำเนินการ – จำนวนประชาชนที่เข้าเยี่ยมชมอุทยานผีเสื้อฯประจำเดือน กันยายน 2563 มีจำนวนทั้งสิ้น 2965 คน - บริษัทถ่ายทำนิตยสาร 1 รายการ 5. งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ – ประชาสัมพันธ์ด้านสื่อโซเชียล

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:เตรียมการจนได้รับจัดสรรงบประมาณ
:5.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:การดำเนินงาน
:85.00%
เริ่มต้น :2021-02-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-02-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:รวบรวมและสรุปผลการดำเนินงาน
:10.00%
เริ่มต้น :2021-08-02 00:00:00
สิ้นสุด :2021-08-02 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 22000000-4120

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 22000000-4120

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 2200-1015

ตัวชี้วัด : 29. พื้นที่สีเขียวและ/หรือพื้นที่ทางธรรมชาติที่ได้รับการส่งเสริม อนุรักษ์ ฟื้นฟู รักษาและป้องกันการทำลายจนกลายเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ (แห่ง)

ค่าเป้าหมาย แห่ง : 1

ผลงานที่ทำได้ แห่ง : 1

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(แห่ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
1.00

100 / 100
3
1.00

0 / 0
4
1.00

100 / 100

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **