ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการสร้างมาตรฐานสินค้าด้านการเกษตรของกรุงเทพมหานคร : 24000000-3060

สํานักพัฒนาสังคม : (2565)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

กองส่งเสริมอาชีพ

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3

หลักการและเหตุผล

กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่การเกษตรอยู่มากประมาณ 143,595 ไร่ กระจายอยู่ในพื้นที่ 26 เขตชั้นนอกของกรุงเทพมหานคร เกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตรแบบผสมผสาน แยกเป็นทำนาข้าว ไม้ผล ไม้ดอกไม้ประดับ ผัก หญ้าสนาม นอกจากนี้ยังมีการทำปศุสัตว์เลี้ยงไก่/เป็ด ห่าน นกกระจอกเทศ แพะ แกะ โค กระบือ และอาชีพทำการประมง ได้แก่ กุ้งทะเล (บางขุนเทียน ทุ่งครุ) ปลาน้ำจืด หอย ปู เป็นต้น มีครัวเรือนเกษตรกร 12,993 ครัวเรือน ซึ่งจากข้อมูลการทำอาชีพเกษตรดังกล่าว ถือว่าการเกษตรของกรุงเทพมหานครไม่เป็นที่รู้จักเท่าใดนัก หากเทียบกับจังหวัดอื่นของประเทศ และตามผลการศึกษาวิจัยด้านการเกษตร 27 เขต ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นั้น ในยุทธศาสตร์ที่ 6 ยกระดับผลผลิตการเกษตรให้มีคุณภาพมาตรฐาน สร้างมูลค่าเพิ่มและมีการตลาดรองรับ ซึ่งโครงการหลัก คือการจัดหาตลาด จำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรนำผลผลิตออกจำหน่ายจนเป็นที่รู้จักแก่คนทั่วไป เป็นการสร้างขวัญกำลังใจและทำให้อาชีพการเกษตรอยู่คู่กับเกษตรกรสืบไป สำนักพัฒนาสังคม เป็นหน่วยงานหลักของกรุงเทพมหานครในการปฏิบัติงานด้านการเกษตร ตามยุทธศาสตร์ แผนงานของชาติและของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเน้นให้เกษตรกรผลิตสินค้าด้านการเกษตรแบบปลอดภัยสารพิษ แต่จากการดำเนินงานที่ผ่านมากรุงเทพมหานครยังไม่เคยมีการสร้างมาตรฐานสินค้าด้านการเกษตร จึงได้จัดทำโครงการสร้างมาตรฐานสินค้าด้านการเกษตรของกรุงเทพมหานคร Bangkok Green Farm ขึ้น

24040000/24040000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

2.1 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีการเพิ่มมูลค่าสินค้าด้านการเกษตร ซึ่งต่างไปจากการผลิตแบบเดิมๆ ทำให้สินค้าเกษตรขายได้มูลค่าเพิ่มขึ้น 2.2 เพื่อกำหนดมาตรฐานสินค้าด้านการเกษตรของกรุงเทพมหานคร ให้ได้มาตรฐานมีตราสัญลักษณ์ (Brand) เป็นของตนเอง ซึ่งกระบวนการออกตราสัญลักษณ์นั้น เน้นโดยใช้บุคลากรและหน่วยงานของกรุงเทพมหานครที่มีอยู่แล้ว

เป้าหมายของโครงการ

กรุงเทพมหานครมีมาตรฐานสินค้าด้านการเกษตรไม่น้อยกว่า 10 ชนิด

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2022-09-27)

100.00

27/09/2565 :ได้จัดทำร่างมาตรฐานสินค้าด้านการเกษตรของกรุงเทพมหานคร ร่างคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมิน และร่างคำสั่งคณะกรรมการให้การรับรองสินค้าเกษตรของกรุงเทพมหานคร เสร็จเรียบร้อยแล้ว

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2022-08-30)

75.00

30/08/2565 : อยู่ระหว่างแก้ไขคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินและคณะกรรมการให้การรับรองมาตรฐานสินค้าฯ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2022-07-27)

65.00

27/07/2565 : อยู่ระหว่างเสนอผู้ว่าลงนามเห็นชอบมาตรฐานสินค้าฯของกรุงเทพมหานคร

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2022-06-30)

60.00

30/06/2565 : อยู่ระหว่างเสนอเรื่องให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ลงนามเห็นชอบมาตรฐานสินค้าฯ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2022-05-31)

55.00

31/05/2565 : ทำหนังสือเสนอผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ลงนามเห็นชอบมาตรฐานสินค้าฯ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2022-04-29)

50.00

29/04/2565 : ทำหนังสือเสนอ ผว.กทม.ให้ความเห็นชอบมาตรฐานสินค้าด้านการเกษตรของกรุงเทพมหาครและขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินและคณะกรรมการให้การรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรของกรุงเทพมหานคร

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2022-03-28)

40.00

28/03/2565 : อยู่ระหว่างแก้ไขร่างมาตรฐานสินค้าฯ ตามที่กรมวิชาการเกษตรให้คำแนะนำ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2022-02-24)

30.00

24/02/2565 : จัดส่งร่างมาตรฐานสินค้าฯ ไปให้กรมวิชาการเกษตรพิจารณาควา่มถูกต้องเหมาะสมของร่างมาตรฐาน

** ปัญหาของโครงการ :ล่าช้าเนื่องจากสถาณการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ covid - 19

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2022-01-24)

25.00

24/01/2565 : จัดประชุม ZOOM คณะกรรมการพิจารณาสินค้าด้านการเกษตรของ กทม. ในวันที่ 27 ม.ค.2565

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2021-12-28)

20.00

28/12/2564 : อยู่ระหว่างขออนุมัติโครงการ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2021-11-29)

15.00

29/11/2564 : อยู่ระหว่างขออนุมัติโครงการ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2021-10-28)

10.00

28/10/2564 : ขออนุมัติโครงการ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:ขออนุมัติโครงการ
:20.00%
เริ่มต้น :2021-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:ดำเนินโครงการ
:20.00%
เริ่มต้น :2021-12-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-12-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
:60.00%
เริ่มต้น :2022-06-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-06-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 24000000-3060

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 24000000-3060

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 2400-1072

ตัวชี้วัด : สินค้า/ผลิตภัณฑ์ด้านการเกษตรได้รับการรับรองมาตรฐานปลอดภัยจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือหน่วยงานภายนอกอื่นๆ

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 15

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **