ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

ค่าใช้จ่ายโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย : 50060000-3544

สำนักงานเขตยานนาวา : (2564)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

นายทนุธรรม หนูเพชร / โทร.6718

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3 100

หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันกรุงเทพมหานครยังคงเผชิญกับสภาพปัญหาความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร แม้ว่าสถานการณ์โดยรวมจะดีขึ้นโดยลำดับ ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์รวมของวัตถุดิบอาหาร เป็นแหล่งกระจายสินค้า วัตถุดิบอาหาร ส่วนใหญ่ มีการนำเข้ามาจากต่างจังหวัด จากหลากหลายช่องทาง การผลิตวัตถุดิบอาหาร ซึ่งคือต้นน้ำของอาหาร ขั้นตอนการผลิต บางส่วนอยู่นอกเหนือการควบคุมกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร ส่งผลให้ผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครยังคงพบความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนด้านจุลินทรีย์ สารเคมีอันตรายต่างๆ ในวัตถุดิบอาหาร จากการดำเนินการด้านอาหารปลอดภัยตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นต้นมา ในภาพรวมพบว่าสถานการณ์ ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารมีแนวโน้มลดลง ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (2558-2562) พบว่าอัตราป่วยต่อแสนประชากรเท่ากับ 68.2 87.8 91.1 100.6 และ 91.20 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นในปี พ.ศ.2558-2561 และลดลงในปี พ.ศ.2562 เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย ดังนั้น สำนักงานเขตยานนาวา จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ขึ้น ต่อเนื่องจากโครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เพื่อเป็นการคุ้มครองและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย อาหารปลอดโรค ปลอดสารพิษ บริโภคได้อย่างมั่นใจ โดยมีภารกิจหลัก 4 ประการ คือ การตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีในอาหารและน้ำ การจัดอบรม ผู้ประกอบปรุง ผู้สัมผัสอาหารและอาสาสมัครอาหารปลอดภัย การสร้างเครือข่ายอาหารปลอดภัยและการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ตำแหน่งนักวิชาการสุขาภิบาลเพื่อปฏิบัติงานตามโครงการฯ ทั้งนี้เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญ ในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่เขตยานนาวาและทั่วพื้นที่กรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยวได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย

50060400/50060400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อปรับปรุง พัฒนา ยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหาร 2.เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3.เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย 4.เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย

เป้าหมายของโครงการ

1.สถานประกอบการด้านอาหารในพื้นที่เขตยานนาวา ได้รับการตรวจสุขลักษณะผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ร้อยละ 100 2.ร้อยละ 95 ของอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคเกินเกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยาของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3.ร้อยละ 100 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-23)

100.00

23/09/2564 : 1. เดือนสิงหาคม-กันยายน 2564 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 661 ราย 2.เดือนสิงหาคม-กันยายน 2564 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 661 ราย 2.1ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 8 ราย 2.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 124 ราย 3.การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 132 ราย 4.เดือนสิงหาคม-กันยายน 2564 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 11 คน 5.เก็บตัวอย่างอาหารในตลาดสด เดือนสิงหาคม จำนวน 179 ตัวอย่าง สรุปการดำเนินกาตามตัวชี้วัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 1. สถานประกอบการอาหารที่ได้รับการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี ในปี 2564 ( ณ วันที่ 13 กันยายน 2564 ) จำนวน 639 ราย (ทั้งหมด 661 ราย) คิดเป็นร้อยละ 96.67 2. สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี และมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ในปี 2564 จำนวน 378 ราย (ทั้งหมด 661 ราย) คิดเป็นร้อยละ 57.19 ( ณ วันที่ 13 กันยายน 2564) 3. ได้รับงบประมาณโครงการทั้งหมด จำนวน 113,000 บาท เบิกจ่ายงบประมาณทั้งหมด จำนวน 101,955 บาท คิดเป็น ร้อยละ 90.23 เงินงบประมาณคงเหลือ 11,045 บาท คิดเป็นร้อยละ 9.77

** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. สถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ไม่มีการจัดอบรมผู้สัมผัสอาหาร 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

** อุปสรรคของโครงการ :1. แนะนำสถานที่จัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารให้ผู้ประกอบการทราบ 2. หลังสถานการณ์โควิด-19 ดีขึ้น จัดอบรม /ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารโดยสำนักงานเขตยานนาวา 3. ตรวจสอบการติดตั้งถังดักไขมันและเฝ้าระวังการล้างภาชนะ โดยให้น้ำเสียผ่านถังดักไขมันหรือระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ 4. ส่งเสริมให้สถานประกอบการด้านอาหารขนาดใหญ่ มีระบบในการจัดการขยะไขมันและเศษอาหารที่เป็นรูปธรรม เช่น แยกนำไปกำจัด เป็นอาหารสัตว์

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2021-08-30)

20.00

30/08/2564 : 1. เดือนสิงหาคม 2564 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 687 ราย 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 0 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 0 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 65 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 517 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 516 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 99.80) พบการปนเปื้อน 1 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.20) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 149 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 149 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 5. เดือนสิงหาคม 2564 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 9 คน 6. เก็บตัวอย่างอาหารในตลาดสด เดือนกรกฎาคม จำนวน 129 ตัวอย่าง 7. เก็บตัวอย่างอาหารในตลาดสด เดือนสิงหาคม จำนวน 179 ตัวอย่าง งบประมาณที่ใช้ จำนวน 4,625 บาท เบิกค่าตัวอย่างอาหารในตลาดสด เดือนสิงหาคม เป็นเงิน 4,625 บาท

** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. สถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ไม่มีการจัดอบรมผู้สัมผัสอาหาร 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2021-07-28)

20.00

28/07/2564 : 1. เดือนกรกฎาคม 2564 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 675 ราย 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 14 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 0 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 15 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 53 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 53 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 49 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 49 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 5. เดือนกรกฎาคม 2564 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 4 คน 6. เก็บตัวอย่างอาหารในตลาดสด เดือนมิถุนายน จำนวน 195 ตัวอย่าง งบประมาณที่ใช้ จำนวน 3,275 บาท 1. เบิกค่าตัวอย่างอาหารในตลาดสด เป็นเงิน 3,275 บาท

** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. สถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ไม่มีการจัดอบรมผู้สัมผัสอาหาร 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2021-06-28)

5.00

28/06/2564 : 1. เดือนมิถุนายน 2564 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 675 ราย 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 7 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 0 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 8 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 199 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 199 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 33 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 33 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 5. เดือนพฤษภาคม 2564 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 2 คน 6. เก็บตัวอย่างอาหารในตลาดสด เดือนมิถุนายนจำนวน 187 ตัวอย่าง งบประมาณที่ใช้ จำนวน 4,970 บาท 1. เบิกค่าตัวอย่างอาหารในตลาดสด เดือนเมษายน เป็นเงิน 4,970 บาท

** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. สถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ไม่มีการจัดอบรมผู้สัมผัสอาหาร 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

** อุปสรรคของโครงการ :ปสรรค 1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. สถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ไม่มีการจัดอบรมผู้สัมผัสอาหาร 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2021-05-28)

5.00

28/05/2564 : 1. เดือนพฤษภาคม2564 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 671 ราย 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 5 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 0 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 12 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 195 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 195 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 37 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 37 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 5. เดือนเมษายน 2564 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 2 คน 6. เก็บตัวอย่างอาหารในตลาดสด เดือนเมษายน จำนวน 156 ตัวอย่าง งบประมาณที่ใช้ จำนวน 4,915 บาท 1. เบิกค่าตัวอย่างอาหารในตลาดสด เดือนเมษายน เป็นเงิน 4,915 บาท

** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. สถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ไม่มีการจัดอบรมผู้สัมผัสอาหาร 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2021-04-27)

5.00

27/04/2564 : 1. เดือนเมษายน 2564 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 664 ราย 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 4 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 53 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 57 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 278 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 277 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 99.64) พบการปนเปื้อน 1 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.36) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 88 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 86 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 97.73) พบการปนเปื้อน 2 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 2.27) 5. เดือนมีนาคม 2564 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 11 คน 6. เก็บตัวอย่างอาหารในตลาดสด เดือนมีนาคม จำนวน 180 ตัวอย่าง 7. จัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายการสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน วันจันทร์ที่ 29 มีนาคม 2564 เวลา 14.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา งบประมาณที่ใช้ 1. เบิกค่าตัวอย่างอาหารในตลาดสด เดือนมีนาคม เป็นเงิน 4,885 บาท

** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. ผู้สมัครสอบไม่มาสอบตามวัน เวลาที่กำหนด 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

** อุปสรรคของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. ผู้สมัครสอบไม่มาสอบตามวัน เวลาที่กำหนด 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2021-03-25)

5.00

25/03/2564 : 1. เดือนกุมภาพันธ์ 2564 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 664 ราย 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 12 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 89 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 100 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 407 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 407 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.00) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 237 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 237 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.00) 5. เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 12 คน 6. ตรวจสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร เดือนมกราคม 2564 จำนวน 14 ครั้ง จำนวน 85 แห่ง 7. เก็บตัวอย่างอาหารในตลาดสด จำนวน 185 ตัวอย่าง อยู่ระหว่างเบิกค่าตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ฯ เป็นเงิน 4,890 บาท 8. กำหนดจัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายการสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน วันจันทร์ที่ 29 มีนาคม 2564 เวลา 14.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา เบิกค่าจัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน จำนวน 775 บาท

** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. ผู้สมัครสอบไม่มาสอบตามวัน เวลาที่กำหนด 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

** อุปสรรคของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. ผู้สมัครสอบไม่มาสอบตามวัน เวลาที่กำหนด 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2021-02-25)

10.00

25/02/2564 : 1. เดือนกุมภาพันธ์ 2564 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 654 ราย ได้รับป้ายรับรอง 423 ราย คิดเป็นร้อยละ 64.68 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 3 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 116 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 103 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 671 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 668 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 99.55) พบการปนเปื้อน 3 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.45) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 375 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 373 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 99.47) พบการปนเปื้อน 2 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.53) 5. เดือนมกราคม 2564 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 11 คน 6. ตรวจสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร เดือนมกราคม 2564 จำนวน 13 ครั้ง จำนวน 108 แห่ง 7. เบิกค่าตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ฯ เป็นเงิน 4,895 บาท 8. เบิกค่าอาหารทำการนอกเวลาราชการ เป็นเงิน 14,000 บาท

** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. ผู้สมัครสอบไม่มาสอบตามวัน เวลาที่กำหนด 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

** อุปสรรคของโครงการ :1. จัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารที่สำนักงานเขตเป็นประจำทุกเดือน 2. ตรวจสอบการติดตั้งถังดักไขมันและเฝ้าระวังการล้างภาชนะ โดยให้น้ำเสียผ่านถังดักไขมันหรือระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ 3. ส่งเสริมให้สถานประกอบการด้านอาหารขนาดใหญ่ มีระบบในการจัดการขยะไขมันและเศษอาหารที่เป็นรูปธรรม เช่น แยกนำไปกำจัด เป็นอาหารสัตว์

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2021-01-28)

10.00

28/01/2564 : 1. เดือนธันวาคม 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 655 ราย ได้รับป้ายรับรอง 473 ราย คิดเป็นร้อยละ 72.21 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 6 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 42 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 74 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 350 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 347 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 99.14) พบการปนเปื้อน 3 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.86 ) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 256 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 256 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.00) 5. เดือนธันวาคม 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 22 คน 6. เบิกค่าวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดประชุมและให้ความรู้การสุขาภิบาลอาหารแก่อาสาสมัครอาหารปลอดภัย เป็นเงิน 5,780 บาท 7. เบิกค่าวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย เดือนมกราคม 2564 เป็นเงิน 10,000 บาท 8. เบิกค่าอาหารทำการนอกเวลาราชการ เป็นเงิน 13,000 บาท 9.จัดซื้อตัวอย่างอาหาร จำนวน 4945 บาท

** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. ผู้สมัครสอบไม่มาสอบตามวัน เวลาที่กำหนด 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-12-30)

5.00

30/12/2563 : 1. เดือนพฤศจิกายน 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 655 ราย ได้รับป้ายรับรอง 653 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.69 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 2 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 75 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 77 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 80 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 80 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0 ) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 186 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 183 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 98.39) พบการปนเปื้อน 3 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 1.61) 5. เดือนพฤศจิกายน 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 8 คน 6.เบิกจ่ายค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์ฯ จำนวน 21,000 บาท

** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. ผู้สมัครสอบไม่มาสอบตามวัน เวลาที่กำหนด 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

** อุปสรรคของโครงการ :1. จัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารที่สำนักงานเขตเป็นประจำทุกเดือน 2. จัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ 3. ตรวจสอบการติดตั้งถังดักไขมันและเฝ้าระวังการล้างภาชนะ โดยให้น้ำเสียผ่านถังดักไขมันหรือระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ 4. ส่งเสริมให้สถานประกอบการด้านอาหารขนาดใหญ่ มีระบบในการจัดการขยะไขมันและเศษอาหารที่เป็นรูปธรรม เช่น แยกนำไปกำจัด เป็นอาหารสัตว์

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2020-11-26)

10.00

26/11/2563 : 1. เดือนตุลาคม 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 654 ราย ได้รับป้ายรับรอง 648 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.08 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 5 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 58 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 172 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 449 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 447 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 99.55) พบการปนเปื้อน 2 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.45) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 121 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 121 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 5. เดือนตุลาคม 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 22 คน

** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. ผู้สมัครสอบไม่มาสอบตามวัน เวลาที่กำหนด 3. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 4. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ

** อุปสรรคของโครงการ :1. จัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารที่สำนักงานเขตเป็นประจำทุกเดือน 2. จัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ 3. ตรวจสอบการติดตั้งถังดักไขมันและเฝ้าระวังการล้างภาชนะ โดยให้น้ำเสียผ่านถังดักไขมันหรือระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ 4. ส่งเสริมให้สถานประกอบการด้านอาหารขนาดใหญ่ มีระบบในการจัดการขยะไขมันและเศษอาหารที่เป็นรูปธรรม เช่น แยกนำไปกำจัด เป็นอาหารสัตว์

------------------&&&--------------------

(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-10-27)

5.00

27/10/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...เสนออนุมัติโครงการและจัดแผนการตรวจ

** ปัญหาของโครงการ :สถานประกอบการหลายแห่งยังไม่เปิดทำการ ยากต่อการตรวจสอบให้ครบ

** อุปสรรคของโครงการ :ขาดอัตรากำลังบุคลากรในการปฏิบัติงาน

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
:5.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจสุขลักษณะและตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ภัตตาคาร/ร้านอาหาร/ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ตและแผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถีในจุดผ่อนผัน
:25.00%
เริ่มต้น :2020-11-02 00:00:00
สิ้นสุด :2020-11-02 00:00:00
ขั้นตอน 3
:จัดทำแผนตรวจสถานประกอบการด้านอาหาร และตรวจประเมินสถานประกอบการด้านอาหาร
:30.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:ดำเนินการกิจกรรมเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน - จัดประชุมเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน - จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
:20.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:ดำเนินการกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย - จัดอบรมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาด
:20.00%
เริ่มต้น :2021-01-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-01-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50060000-3544

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50060000-3544

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5006-983

ตัวชี้วัด : (3)กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
35.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
85.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **