ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ยุทธชัย มงคลรบ / 5484
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
จากสภาพปัญหาอัตราการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามสถิติคดีอาญาของกองบังคับการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติในปัจจุบันพบว่ามีสถิติค่อนข้างสูง ทั้งคดีอุกฉกรรฐ์ คดีสะเทือนขวัญ คดีประทุษร้ายต่อชีวิตร่างกาย เพศ และทรัพย์สิน เพื่อดูแลความเป็นอยู่ของประชาชน ให้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน กรุงเทพมหานครในฐานะผู้ดูแลและเฝ้าระวังให้กรุงเทพฯ เป็นเมืองที่มีความปลอดภัยจำเป็นต้องเพิ่มการดำเนินงานให้พื้นที่ที่เป็นจุดเสี่ยงภัย การป้องปรามและปรับสภาพแวดล้อม ลดโอกาสในการตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม นำมาตรการต่างๆลงไปในระดับพื้นที่ โดยให้เจ้าหน้าที่เทศกิจมีส่วนเข้าไปช่วยเหลือดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินให้กับประชาชน ออกตรวจตราบริเวณพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัย ซอยเปลี่ยว อาคารร้าง สะพานลอย สะพานคนข้าม หรือสถานที่ใดที่เป็นพื้นที่เสี่ยงก่ออาชญากรรม โดยให้ติดตั้งตู้เขียวใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติงาน สำหรับเจ้าหน้าที่ตรวจตราและลงเวลาปฏิบัติงาน
50200900/50200900
1. ลดโอกาสและลดพื้นที่เสี่ยงภัย ได้แก่ ซอยเปลี่ยว สะพานลอยคนเดินข้ามอาคารร้าง บริเวณหมู่บ้านหรือสถานที่อื่นใดอันอาจก่อให้เกิดอาชญากรรม 2. เพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัคิงานของเจ้าหน้าที่ออกตรวจพื้นที่ที่ได้กำหนดเป็นจุดเสี่ยงภัยอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 3. เพื่อให้ประชาชนโดยทั่วไปได้รับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มมากขึ้นมากขึ้น 4. เพื่อให้เกิดการประสานการปฏิบัติร่วมกันระหว่างหน่วยงาน รวมตลอดทั้งภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
พื้นที่เป้าหมาย (จุดติดตั้งตู้เขียวระวังภัย) เจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจตรา อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด จำนวน 7 แห่ง ได้แก่ 1. ซอยชักพระ 19 ถนนชักพระ 2. สะพานลอยคนเดินข้ามแยกวัดชัยพฤกษฺ์ ถนนบรมราชชนนี 3. ซอนสวนผัก 29 (หน้าโรงเรียนชุมทางตลิ่งชัน) ถนนสวนผัก 4. สะพานลอยคนเดินข้ามหน้าวัดมะกอก ถนนบรมราชชนนี 5. สะพานลอยคนเดินข้ามหน้าหมู่บ้านภานุ ถนนบรมราชชนนี 6. สะพานลอยคนเดินข้ามหน้าสถานีขนส่งกรุงเทพ (สายใต้ใหม่) ถนนบรมราชชนนี 7. ปากซอยบรมราชชนนี 69 (หน้าหอพักพยาบาล) ถนนบรมราชชนนี
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-09-26)
26/09/2563 : เจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจตรา พื้นที่เสี่ยงได้ครบทั้ง 7 แห่ง ได้ตามเป้าหมาย วันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด ครบทุกขั้นตอน - ทำให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและสังคมโดยรวม - ภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานครและบทบาทของเจ้าหน้าที่เทศกิจได้รับการเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับจากประชาชน - ลดโอกาส ลดความเสี่ยง อันอาจจะก่อให้เกิดอาชญากรรมในพื้นที่เปลี่ยวได้ครบทั้ง 7 แห่ง ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เทศกิจ
** ปัญหาของโครงการ : -
** อุปสรรคของโครงการ : - ออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม ได้ตามเป้าหมาย วันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด จำนวน 7 แห่ง - ผลการดำเนินการ เหตุการณ์ทั่วไปปกติ
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2020-08-27)
27/08/2563 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2020-07-26)
26/07/2563 : -จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจตราพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม ได้แก่ จุดเสี่ยง ซอยเปลี่ยว สะพานลอยคนเดินข้าม อาคารร้าง บริเวณหมู่บ้านหรือสถานที่อื่นใดอันก่อให้เกิดอาชญากรรม จำนวน 7 แห่ง วันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด - เหตุการณ์ทั่วไปปกติ
** ปัญหาของโครงการ :- ข้อจำกัดในด้านกฎหมายในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนต่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เทศกิจ - เจ้าหน้าที่เทศกิจไม่มีความเชี่ยวชาญหรือความชำนาญในการป้องกันด้านอาชญากรรม
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2020-06-26)
26/06/2563 : จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจเทศกิจ ออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่ออาชญากรรม (ตู้เขียว) จำนวน 7 แห่ง วันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด ปฏิบัติหน้าที่ได้ตามเป้าหมาย
** ปัญหาของโครงการ : เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ตามแผน สืบเนื่องจากภารกิจซ้ำซ้อน หรือได้รับมอบภารกิจเร่งด่วน
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2020-05-28)
28/05/2563 : จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (สายตรวจตู้เขียว) จำนวน 7 แห่ง เพื่อลดโอกาสการเกิดความเสี่ยง อันจะก่อให้เกิด อาชญากรรมในพื้นที่เปลี่ยวได้ครบทั้ง 7 แห่ง ประชาชนมีความพึงพอใจและเชื่อมั่นต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและสังคมโดยรวม
** ปัญหาของโครงการ : - เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ตามแผน สืบเนื่องจากภารกิจซ้ำซ้อน หรือได้รับมอบภารกิจเร่งด่วน
** อุปสรรคของโครงการ : - จัดทำคำสั่งมอบหมายงาน สับเปลี่ยนหมุนเวียนกันปฏิบัติหน้าที่
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2020-04-23)
- จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจรถยนต์รถจักรยานยนต์ หรือการปฏิบัติหน้าที่เดินเท้าออกตรวจตรากวดขันพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 7 แห่ง และจัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัย จำนวน 7 แห่ง และลดอุบัติเหตุทางถนนและทางเท้า จำนวน 10 แห่ง ตามบัญชีจุดเสี่ยง - ปฏิบัติงานได้ตามแป้าหมาย
** ปัญหาของโครงการ : -
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2020-03-27)
27/3/2563 : จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจเทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยง (ตู้เขียว) จำนวน 7 แห่ง วันละ 2 ครั้ว/วัน/จุด - เหตุการณ์ทั่วไปปกติ
** ปัญหาของโครงการ : เจ้าหน้าที่เทศกิจไม่มีความเชี่ยวชาญหรือความชำนาญในการป้องกันด้านอาชญากรรม
** อุปสรรคของโครงการ :
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2020-02-25)
25/2/2563 : จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ออกตรวจตราจุดเสี่ยงภัย(ตู้เขียว) จำนวน 7 แห่ง 2 ครั้ง/วัน/จุด ปฏิบัติงานได้ตามตามเป้าหมาย ผลการดำเนินการ: เหตุการณ์ทั่วไปปกติ
** ปัญหาของโครงการ : 1. ขนาดของพื้นที่และสภาพทางกายภาพหลากหลาย อาจทำให้การกำหนดจุดเสี่ยงภัยไม่ครอบคุมทั่วถึงเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่ 2. ข้อจำกัดในด้านกฎหมายในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนต่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เทศกิจ 3. เจ้าหน้าที่เทศกิจไม่มีความเชี่ยวชาญหรือความชำนาญในการป้องกันด้านอาชญากรรม
** อุปสรรคของโครงการ :
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2020-01-26)
26/1/2563 : - จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจตรา วันละ 2 ครั้ง จำนวน 7 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ : - เจ้าหน้าที่ไม่อาจปฏิบัติได้ตามแผน สืบเนื่องจากภารกิจซ้ำซ้อน ได้รับมอบภารกิจเร่งด่วน
** อุปสรรคของโครงการ :
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2019-12-26)
26/12/2562 : จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดติดตั้งตู้เขียว ลงบันทึกเหตุการณ์ จำนวน 7 จุด เหตุการณ์ทั่วไปปกติ
** ปัญหาของโครงการ :
** อุปสรรคของโครงการ :
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2019-11-25)
25/11/2562 : - จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดติดตั้งตู้เขียว ลงบันทึกเหตุการณ์ จำนวน 7 จุด
** ปัญหาของโครงการ : - ข้อจำกัดในด้านของกฎหมายในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน - เจ้าหน้าที่เทศกิจไม่มีความเชี่ยวชาญหรือความชำนาญในการป้องกันด้านอาชญากรรม
** อุปสรรคของโครงการ :
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2019-10-23)
23/10/2562 :- จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ออกตรวจตราบริเวณพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยตามจุดติดตั้งตู้เขียว หรือซอยเปลี่ยว อาคารร้าง สะพานลอย หรือสถานที่ที่เป็นพื้นที่เสี่ยงก่อเกิดอาชญากรรม วันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด จำนวน 7 แห่ง ได้แก่ 1.ซอยชักพระ 19 ถนนชักพระ 2. สะพานลอยคนเดินข้ามแยกวัดชัยพฤกษ์ ถนนบรมราชชนนี 3. ซอยสวนผัก 29 (หน้าโรงเรียนชุมทางตลิ่งชัน)ถนนสวนผัก 4. สะพานลอยคนเดินข้ามหน้าวัดมะกอก ถนนบรมราชชนนี 5. สะพานลอยคนเดินข้ามหน้าหมู่บ้านภานุ ถนนบรมราชชนนี 6. สะพานลอยคนเดินข้ามสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สายใต้ใหม่) ถนนบรมราชชนนี 7. ปากซอยบรมราชชนนี 69 (หน้าหอพักพยาบาล) ถนนบรมราชชนนี
** ปัญหาของโครงการ : อาจตรวจตราได้ไม่ทั่วถึงหรือไม่ครอบคลุมพื้น เนื่องจากเจ้าหน้าที่ติดภารกิจอื่นที่ได้รับมอบหมาย
** อุปสรรคของโครงการ : -
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : 3. พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **