ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการ กรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย : 50370000-3276

สำนักงานเขตดินแดง : (2564)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

นาธนวัฒน์ ประชาชน 085-8713048

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3 100

หลักการและเหตุผล

สำนักงานเขตดินแดงจึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ทั้งนี้ เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของประชาชนและนักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่มาพักอาศัยให้ได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย

50370400/50370400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 3.เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย

เป้าหมายของโครงการ

ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-22)

100.00

22/09/2564 : สรุปผลการดำเนินโครงการ 1. สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้ง จำนวน 390 แห่ง ได้รับการตรวจประเมินผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 353 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 90.51 ได้แก่ - สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 250 แห่ง - มินิมาร์ท จำนวน 92 แห่ง - ซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 5 แห่ง - ตลาด จำนวน 6 แห่ง - สถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้ง จำนวน 8 แห่ง - สถานประกอบการอาหารปิดดำเนินกิจการชั่วคราว จำนวน 37 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 9.49 2. สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 277 ราย คิดเป็นร้อยละ 71.02 3. สถานศึกษาในพื้นที่เขตดินแดง จำนวน 23 แห่ง ได้รับการตรวจประเมินผ่านเกณฑ์สุขาภิบาลอาหารของโรงเรียน จำนวน 23 แห่ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :- เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 และประกาศปิดสถานที่ ฯลฯ ทำให้สถาน ประกอบการอาหารหลายแห่งเลิกดำเนินกิจการ หรือหยุดดำเนินกิจการชั่วคราว - การตรวจสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน/จัดประชุมเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน สามารถดำเนินการ ได้เพียง 1 ครั้ง เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 98.00 (2021-08-31)

98.00

31/08/2564 : - ตรวจสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร/ สะสมอาหาร ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล ร้านขายของชำ จำนวน 36 ร้าน ผ่านทั้งหมด -กิจกรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย

** ปัญหาของโครงการ :- สถานประกอบการหลายแห่ง ปิดดำเนินกิจการชั่วคราว / เลิกกิจการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ โควิด-19 รวมถึงประกาศปิดสสถานที่ขาางประเภท ตาคำสั่งราชการ

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2021-07-30)

90.00

30/07/2564 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 15 ร้าน ผ่านทั้งหมด มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ จำนวน 58 ร้าน ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 12 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 9 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 12 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 15 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 19 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 7 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 5 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ11 จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 13 ตัวอย่าง ผ่าน 10 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 3 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :จากประกศกรุงเทพหมานคร เรื่อง สั่งปิดสถาที่เป็การชั่วคราว (ฉบับที่ 37) , (ฉบับที่ 38) ส่งผลให้สถานประกอบอาหารที่เปิดดำเนินการในห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า และสถานที่อื่นๆตามประกาศ ปิดทำการชั่วคราว

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2021-06-30)

85.00

30/06/2564 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 23 ร้าน ผ่านทั้งหมด มินิมาร์ท จำนวน 21 ร้าน ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 28 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 12 ตัวอย่าง ผ่าน 11 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 1 ตัวอย่าง - สารฟอกขาว จำนวน 9 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน29 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 4 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ11 จำนวน21 ตัวอย่าง ผ่าน 16 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 5 ตัวอย่าง 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน xx ตัวอย่าง ผ่าน 100 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 29 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :สถานประกอบการอาหาร หลายแห่งหยุดประกอบการชั่วคราว จากสถานการณ์โควิด-19 และประกาศของกรุงเทพมหานคร เรื่องสั่งปิดสถานที่ ฯลฯ

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2021-05-31)

80.00

31/05/2564 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 11 ร้าน ผ่านทั้งหมด มินิมาร์ท จำนวน 68 ร้าน ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ11 จำนวน 61 ตัวอย่าง ผ่าน 48 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 13 ตัวอย่าง 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 21 ตัวอย่าง ผ่าน 13 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 8 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :- สถานประกอบการจำหน่ายอาหาร หลายรายได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ต้องปิดการดำเนินกิจการชั่วคราว ไม่มีกำหนด ทำให้ไม่สามารถดำเนินการตรวจสอบคุณภาพอาหาร ตามแผนที่กำหนดได้

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2021-04-30)

70.00

30/04/2564 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 15 ร้าน ผ่านทั้งหมด มินิมาร์ท จำนวน 0 ร้าน 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 13 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 10 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 24 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 4 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ11 จำนวน 7 ตัวอย่าง ผ่าน 2 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 5 ตัวอย่าง 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 58 ตัวอย่าง ผ่าน 25 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 33 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :จากสถานการณ์โรคติดเชื้อโควิด-19 สถานประกอบการอาหารที่อยู่ใน กลุ่มสถานบริการ และสถานประกอบการที่คล้ายสถานบริการ ซึ่งปิดทำการตามประกาศของกรุงเทพมหานคร ฯลฯ ทำให้สถานประกอบการอาหารดังกล่าวปิดทำการไปด้วย และไม่สามารถดำเนินการตรวจได้

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2021-03-31)

60.00

31/03/2564 :- ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 31 ร้าน ผ่านทั้งหมด มินิมาร์ท จำนวน 1 ร้าน ผ่านทั้งหมด โรงเรียน จำนวน 3 ร้าน ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 11 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 12 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 56 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ11 จำนวน 10 ตัวอย่าง ผ่าน 7 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 3 ตัวอย่าง 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 162 ตัวอย่าง ผ่าน 118 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 44 ตัวอย่าง - กิจกรรมเครือข่าสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน จัดประชุมเครือข่ายสุขาภิบาลในโรงเรียน ผู้เข้าประชุมพร้อมเจ้าหน้าที่รวม 46 คน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ : -

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2021-02-25)

50.00

25/02/2564 : ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test-Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5.จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ -ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 45 ร้าน ผ่านทัั้งหมด สถานศึกษา จำนวน 9 แห่ง ผ่านทั้งหมด 2.ด้านเคมี -บอแรกซ์ จำนวน 29 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -ฟอร์มาลีน จำนวน 19 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -สารฟอกขาว จำนวน 13 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -สารกันรา จำนวน 6 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -ยาฆ่าแมลง จำนวน 59 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -สีงสังเคราะห์ จำนวน 4 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -สารโพล่า จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -กรดแร่อิสระ จำนวน 0 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -ไอโอเดท จำนวน 0 ตัวอย่าง -อ11 จำนวน 20 ตัวอย่าง ผ่าน 16 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 4 ตัวอย่าง 3.ด้านชีวภาพ -(SI-2) จำนวน 404 ตัวอย่าง ผ่าน 333 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 71 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2021-01-29)

35.00

29/01/2564 : ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหาเบื้องต้น (Test-Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนกาดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ อุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหาร เพื่อทดสอบการปเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5.จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ -ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 36 ร้าน ผ่านทั้งหมด สถานศึกษา จำนวน 1 แห่ง ผ่าน 2.ด้านเคมี -บอแรกซ์ 23 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -ฟอร์มาลีน 8 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาาว 11 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา 9 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง 28 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -สีสังเคราะห์ 6 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -สารโพล่า 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -กรดแร่อิสระ 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด -ไอโอเดท 0 ตัวอย่าง - อ11 จำนวน 4 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 3 ตัวอย่าง 3.ด้านชีวภาพ -(SI-2) จำนวน 180 ตัวอย่าง ผ่าน 151 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 29 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :- เนื่องจากประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่องสั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับ ที่ 15 ) ลงวันที่ 1 มกราคม 2564 ทำให้สถานศึกษาปิดทำการ จึงไม่สามารถตรวจได้

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2020-12-29)

25.00

29/12/2563 : ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test-Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งสถานประกอบการทราบ 2.ดำเนิการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ มือผู้สัมผัสอาหาร เพื่อทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5.จัดทำรายงานผลการตรรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.)ด้านกายภาพ - ตวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 41 ร้าน ผ่านทั้งหมด โรงเรียน จำนวน 10 แห่ง ผ่านทั้งหมด 2.)ด้านเคมี - บอแรกซ์ : 55 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน : 59 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว : 22 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา : 27 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง : 59 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ : 7 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า : 6 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ : 11 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท : 6 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3.)ด้านชีวภาพ - (SI-2) : 208 ตัวอย่าง ผ่าน 168 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 14 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2020-11-30)

15.00

30/11/2563 : ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งให้ผู้ประกอบการทราบ 2.ดำเนินการตวจสุขลักษณะของสถานประกอบการตามเป้าหมาย 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจสอบสารเคมีปนเปื้อน 4.เก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab ภาชนะ อุปกรณ์ และมือของผู้สัมผัสอาหาร เพื่อทดสอบการปเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5.จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีรายการดังนี้ 1.) ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาลอาหารในซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 5 แห่ง ผ่านทั้งหมด 2.) ด้านเคมี - ยาฆ่าแมลง จำนวน 50 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-10-30)

5.00

30/10/2563 : จัดทำโครงการ และแผนปฏิบัติงาน

** ปัญหาของโครงการ :แผนปฏิบัติาชการ ประจำปี 2564 มีกาแก้ไขเพิ่มเติม ต้องศึกษาและทำความเข้าใจเพิ่มเติม

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:จัดทำโครงการ
:5.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:จัดทำแผนการปฏิบัติงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test-Kit)
:60.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:กิจกรรมเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน
:10.00%
เริ่มต้น :2020-12-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-12-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:กิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย
:10.00%
เริ่มต้น :2020-12-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-12-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:สรุปผลการดำเนินงาน
:10.00%
เริ่มต้น :2021-09-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-09-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50370000-3276

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50370000-3276

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5037-0940

ตัวชี้วัด : กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย -ระดับความสําเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (องค์ประกอบที่ 3)

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 (ระดับ 5) : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ 100 (ระดับ 5) : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ 100 (ระดับ 5))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
60.00

100 / 100
3
85.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **