ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นายจุฑาวิทย์ วีระวงศ์ โทร.7027
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
การบริหารจัดการน้ำในประเทศไทยที่หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่างให้การยอมรับและนำไปประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง คือ แนวทางการบริหารจัดการน้ำของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ผู้ทรงได้รับการยกย่องให้เป็น “ปราชญ์แห่งน้ำ” แนวทางการบริหารจัดการน้ำของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มิใช่เพียงเรื่องของการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อให้มีน้ำพอกินพอใช้ คลี่คลายอุทกภัย หรือบรรเทาปัญหาภัยแล้งเท่านั้น หากแต่พระองค์ยังทรงสนพระราชหฤทัยในการจัดการทรัพยากรน้ำให้เกิดความสมดุลทั้งด้านปริมาณและคุณภาพอย่างยั่งยืน โดยการแก้ปัญหาเรื่องน้ำอย่างครบวงจรจากต้นน้ำถึงปลายน้ำ นับตั้งแต่การดึงน้ำจากฟ้ามาใช้ประโยชน์ การสงวนรักษาแหล่งต้นน้ำลำธาร การอนุรักษ์ดิน อนุรักษ์น้ำ ไปจนถึงการบำบัดน้ำเสีย เพื่อนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ รัฐบาลจึงได้น้อมนำศาสตร์พระราชามาจัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ ปี พ.ศ.2558-2569 ซึ่งได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่สำคัญและเกี่ยวข้องกับหน้าที่ของสำนักงานเขตวัฒนา คือ ยุทธศาสตร์การจัดการน้ำท่วมและอุทกภัย ยุทธศาสตร์การจัดการคุณภาพน้ำ และยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ โดยการสร้างการบริหารจัดการน้ำที่มีเอกภาพ การขับเคลื่อนนโยบาย การบังคับใช้กฎหมาย รวมถึงการประชาสัมพันธ์และให้ความรู้แก่ประชาชนและภาคเอกชน ตลอดจนมีการติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง สำนักงานเขตวัฒนาได้วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ดังนี้ (1) มีผักตบชวาขึ้นกีดขวางทางน้ำไหลใน คู คลอง ลำราง และเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทำให้ต้องดำเนินการจัดเก็บบ่อยครั้ง โดยเจ้าหน้าที่ที่มีอยู่อย่างจำกัด และมีภารกิจที่ต้องรับผิดชอบในด้านอื่นๆ รวมถึงวัชพืชที่ขึ้นปกคลุมริมตลิ่งกีดขวางทางการสัญจรของประชาชน (2) การทิ้งขยะลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ และไม่มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งจากบ้านเรือน (3) มีการปล่อยน้ำเสียที่ยังไม่ผ่านการบำบัดลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ จากอาคารสาธารณะ อาคารพักอาศัยรวม สถานประกอบการ และร้านอาหาร โดยไม่มีการติดตั้งระบบบำบัดหรือถังดักไขมัน (4) ไม่มีการพัฒนาพื้นที่ว่างริมคลอง ที่เป็นที่สาธารณะ และเอกชน ให้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจหรือพื้นที่สีเขียวมีวัชพืชขึ้นปกคลุม รวมทั้งมีแสงสว่างไม่เพียงพอในเวลากลางคืนในการสัญจรไป – มา บริเวณริมคลอง
50390300/50390300
2.1 เพื่อพัฒนา และดูแลรักษาสภาพ คู คลอง ให้อยู่ในสภาพสามารถระบายน้ำได้ดี 2.2 เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคู คลอง ในพื้นที่เขตวัฒนา เป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และมีพื้นที่ให้ประชาชนใช้พักผ่อนหย่อนใจ 2.3 เพื่อป้องกันการบุกรุกหรือมีสิ่งรุกล้ำที่สาธารณะตลอดแนวคู คลอง ในพื้นที่เขตวัฒนา 2.4 เพื่อสร้างความปลอดภัยให้แก่ประชาชนผู้สัญจร 2.5 เพื่อปลูกฝัง และสร้างจิตสำนึกร่วมกัน ร่วมมือร่วมใจในการไม่ทิ้งขยะลง คู คลอง รวมทั้งการให้ความรู้ ความเข้าใจ ในการติดตั้งระบบบำบัดหรือถังดักไขมัน ก่อนปล่อยน้ำทิ้งออกจากอาคารสาธารณะ อาคารพักอาศัยรวม สถานประกอบการ และร้านอาหาร เพื่อน้ำใน คู คลอง มีคุณภาพดีขึ้น
3.1 จัดเก็บขยะ วัชพืช และดูแลรักษาสภาพคลองแสนแสบ คลองตัน และคลองพระโขนง ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 3.2 ปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองแสนแสบ คลองตัน คลองพระโขนง และเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ และจุด Check in อย่างน้อย 1 จุด ต่อคลอง โดยมีภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ 3.3 จัดเจ้าหน้าที่ดูแลไม่ให้มีการบุกรุกหรือมีสิ่งรุกล้ำที่สาธารณะตลอดแนวคลองแสนแสบ คลองตัน คลองพระโขนง ทุกเดือน 3.4 สำรวจพื้นที่สาธารณะที่ว่าง และริมคลอง เพื่อติดตั้งหรือซ่อมแซมโคมไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะเพื่อสร้างความปลอดภัยแก่ประชาชนที่สัญจรในบริเวณ คลองแสนแสบ คลองตัน คลองพระโขนง โดยมีภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนมีส่วนร่วมในการสนับสนุนกิจกรรม 3.5 การประชาสัมพันธ์ รณณรงค์ ให้ประชาชน เข้าใจ ร่วมมือ ในการคัดแยกขยะ ไม่ทิ้งขยะลงในคลอง และมีการติดตั้งระบบบำบัดหรือถังดักไขมัน ก่อนปล่อยน้ำทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ |
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ% |
๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-20)
20/09/2564 : ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองจำนวน 3 คลอง 1.คลองแสนแสบ 2.คลองตัน 3.คลองพระโขนง 1.ดำเนินการพัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุดเช็คอิน Ckeck in ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือน และป้ายประดับตกแต่งต่าง ๆ ให้มีความสวยงามและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่อย่างน้อยเขตละ 1 จุด ต่อคลอง ผลการดำเนินงาน -คลองแสนแสบ สร้างจุดชมวิวทิวทัศน์/จุดเช็ดอิน Ckeck in จำนวน 1 จุด และปรับปรุงสวนหย่อม จุดกลับรถใต้สะพานทองหล่อ สถานที่พักผ่อน จำนวน 1 จุด ติดตั้งป้ายประดับตกแต่ง จำนวน 1 จุด -คลองตัน (ไม่มีพื้นที่ริมคลองที่จะจัดทำเป็นสถานที่พักผ่อน จุด Ckeck in ) จึงจัดกิจกรรมเชิญชวนประชาชนที่เป็นเจ้าของสะพานข้ามไปหมู่บ้านผกามาศมีส่วนร่วมในการทำความสะอาด และทาสีสะาพนให้สวยงาม สะอาด เรียบร้อย -คลองพระโขนง (ไม่มีพื้นที่ริมคลองที่จะจัดทำเป็นสถานที่พักผ่อน จุด Ckeck in) จึงจัดกิจกรรมร่วมกับสำนักการระบายน้ำดำเนินการปรับปรุงทาสีราวสะพานทางเดินคนข้ามตรงใกล้สะพานพระโขนงให้สวยงาม 2.บริหารจัดการขยะริมคลอง รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น การเดินรณรงค์ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ การกระจายเสียงฯลฯ และให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่อง การคัดแยกขยะ การจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันสำหรับบ้านเรือน -ดำเนินการรณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ จำนวน 3 ช่องทาง ได้แก่ 1.การเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลอง 2.การประชาสัมพันธ์ผ่าน Face book ของฝ่ายรักษาความสะอาดฯ 3. การแจกแผ่นประชาสัมพันธ์ไม่ใช้ประชาชนทิ้งขยะและของเสียลงคลอง รวมทั้งให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่อง การคัดแยกขยะ จำนวน 2 ครั้ง/ปี ณ ชุมชนนวลจิต และโรงเรียนวัดธาตุทอง 3.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนในพื้นที่ ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง เช่น ท่าน้ำของตนเอง สะพานทางเดินข้ามคลองที่เชื่อมระหว่างบ้านกับชุมชน กำแพงบ้านริมคลองฯลฯ -ดำเนินการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนและจิตอาสาในพื้นที่ ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง จำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ 1.เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนและจิตอาสาในพื้นที่ ภาคเอกชน และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลอง 2.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนและจิตอาสาในพื้นที่ ภาคเอกชน และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำความสะอาดกำแพงบ้านริมคลองและเทน้ำขยะหอมเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง 4.สำรวจ ตรวจสอบและซ่อมแซมสะพานข้ามคลองในความรับผิดชอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น -ดำเนินการซ่อมแซมสะพานข้ามคลองที่ได้จากการสำรวจ คิดเป็นร้อยละ 100 -คลองตันดำเนินการสำรวจและซ่อมแซมปูนแตกร้าว และทาสีราวสะพานหมู่บ้านผกามาศให้เรียบร้อยพร้อมใช้งาน -คลองพระโขนง ดำเนินการสำรวจและทาสีโครงเหล็ก และพื้นสะพานทางเดินคนข้ามตรงใกล้สะพานพระโขนงให้พร้อมใช้งาน 5.สำรวจและประสานการไฟฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน 6 จัดเก็บขยะ วัชพืช ดูแลรักษาสภาพคลอง ได้แก่ คลองแสนแสบ ระยะทาง 5,300 เมตร คลองตัน ระยะทาง 3,700 เมตร และคลองพระโขนง ระยะทาง 650 เมตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 0.00 (2021-09-16)
ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองจำนวน 3 คลอง 1.คลองแสนแสบ 2.คลองตัน 3.คลองพระโขนง 1.ดำเนินการพัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุดเช็คอิน Ckeck in ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือน และป้ายประดับตกแต่งต่าง ๆ ให้มีความสวยงามและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่อย่างน้อยเขตละ 1 จุด ต่อคลอง ผลการดำเนินงาน -คลองแสนแสบ สร้างจุดชมวิวทิวทัศน์/จุดเช็ดอิน Ckeck in จำนวน 1 จุด และปรับปรุงสวนหย่อม จุดกลับรถใต้สะพานทองหล่อ สถานที่พักผ่อน จำนวน 1 จุด ติดตั้งป้ายประดับตกแต่ง จำนวน 1 จุด -คลองตัน (ไม่มีพื้นที่ริมคลองที่จะจัดทำเป็นสถานที่พักผ่อน จุด Ckeck in ) จึงจัดกิจกรรมเชิญชวนประชาชนที่เป็นเจ้าของสะพานข้ามไปหมู่บ้านผกามาศมีส่วนร่วมในการทำความสะอาด และทาสีสะาพนให้สวยงาม สะอาด เรียบร้อย -คลองพระโขนง (ไม่มีพื้นที่ริมคลองที่จะจัดทำเป็นสถานที่พักผ่อน จุด Ckeck in) จึงจัดกิจกรรมร่วมกับสำนักการระบายน้ำดำเนินการปรับปรุงทาสีราวสะพานทางเดินคนข้ามตรงใกล้สะพานพระโขนงให้สวยงาม 2.บริหารจัดการขยะริมคลอง รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น การเดินรณรงค์ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ การกระจายเสียงฯลฯ และให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่อง การคัดแยกขยะ การจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันสำหรับบ้านเรือน -ดำเนินการรณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ จำนวน 3 ช่องทาง ได้แก่ 1.การเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลอง 2.การประชาสัมพันธ์ผ่าน Face book ของฝ่ายรักษาความสะอาดฯ 3. การแจกแผ่นประชาสัมพันธ์ไม่ใช้ประชาชนทิ้งขยะและของเสียลงคลอง รวมทั้งให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่อง การคัดแยกขยะ จำนวน 2 ครั้ง/ปี ณ ชุมชนนวลจิต และโรงเรียนวัดธาตุทอง 3.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนในพื้นที่ ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง เช่น ท่าน้ำของตนเอง สะพานทางเดินข้ามคลองที่เชื่อมระหว่างบ้านกับชุมชน กำแพงบ้านริมคลองฯลฯ -ดำเนินการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนและจิตอาสาในพื้นที่ ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง จำนวน 2 ครั้ง ได้แก่ 1.เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนและจิตอาสาในพื้นที่ ภาคเอกชน และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลอง 2.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนและจิตอาสาในพื้นที่ ภาคเอกชน และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำความสะอาดกำแพงบ้านริมคลองและเทน้ำขยะหอมเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง 4.สำรวจ ตรวจสอบและซ่อมแซมสะพานข้ามคลองในความรับผิดชอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น -ดำเนินการซ่อมแซมสะพานข้ามคลองที่ได้จากการสำรวจ คิดเป็นร้อยละ 100 -คลองตันดำเนินการสำรวจและซ่อมแซมปูนแตกร้าว และทาสีราวสะพานหมู่บ้านผกามาศให้เรียบร้อยพร้อมใช้งาน -คลองพระโขนง ดำเนินการสำรวจและทาสีโครงเหล็ก และพื้นสะพานทางเดินคนข้ามตรงใกล้สะพานพระโขนงให้พร้อมใช้งาน 5.สำรวจและประสานการไฟฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน 6 จัดเก็บขยะ วัชพืช ดูแลรักษาสภาพคลอง ได้แก่ คลองแสนแสบ ระยะทาง 5,300 เมตร คลองตัน ระยะทาง 3,700 เมตร และคลองพระโขนง ระยะทาง 650 เมตร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ปัญหาและอุปสรรคจากการดำเนินการ -การจัดเก็บขยะริมคลอง ระยะทาง 3,700 เมตร ไม่สามารถเข้าไปดำเนินการได้ เนื่องจากไม่มีทางเดินริมคลองในพื้นที่เขตวัฒนาและเป็นพื้นที่เอกชน ข้อเสนอแนะในการพัฒนา -ขอความร่วมมือภาคเอกชนช่วยกัยดูแลรักษาความสะอาดบริ้วณริมคลอง และไม่ทิ้งขยะลงคลอง -ควรมีการบูรณาการการทำงานระหว่างสำนักและสำนักงานเขตอย่างต่อเนื่อง
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-10)
10/09/2564 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2021-08-19)
19/08/2564 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2021-07-23)
23/07/2564 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2021-06-22)
22/06/2564 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2021-05-24)
24/05/2564 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2021-04-27)
27/04/2564 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2021-03-31)
31/03/2564 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2021-02-22)
2/22/2021 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการตามแผนงาน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2021-01-28)
1/28/2021 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการตามแผน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2020-12-24)
24/12/2563 : อยู่ระหว่างสำรวจตรวจสอบสถานที่ที่จะดำเนินการเพื่อดำเนินการตามแผนงาน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(13) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2020-11-30)
11/30/2020 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ตามโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(14) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2020-10-30)
30/10/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนขออนุมัติโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : จำนวนคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
ค่าเป้าหมาย คลอง : 3
ผลงานที่ทำได้ คลอง : 1
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **