ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางอำพร ฤทธิ์ถาวร โทร.6969
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยตามนโยบายของกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครสูงสุด จึงจัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพเมืองอาหารปลอดภัย ทั้งนี้ เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของเขตวังทองหลาง ทั้งนี้เพื่อก่อประโยชน์ต่อประชาชนชาววังทองหลาง นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้าพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย
50450400/50450400
1. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานที่จำหน่ายอาหาร สะสมอาหาร และอาหารริมบาทวิธี 2. เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหาร กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินและร้องเรียนด้านอาหาร 3. เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์และวิสัยทัศน์อ้านอาหารปลอดภัยให้กว้างไกลและเหมาะสมกับสถานการ และพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้เพื่อคุณภาพงานด้านอาหารปลอดภัย 4. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 5. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
1. ร้อยละ 95 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ 2. เฝ้าระวังความปลอดภัยอาหารที่วางจำหน่ายในสถานที่จำหน่ายอาหารและสะสมอาหาร โดยเก็บตัวอย่างอาหารจากกลุ่มเป้าหมาย คือ ตลาดสด ร้านอาหาร มินิมาร์ท และซูเปอร์มาร์เก็ต เพื่อตรวจวิเคราะห์ภาคสนาม 3. ตรวจสอบด้านสุขลักษณะทางกายภาดของกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100 ตามหลักการสุขาภิบาลอาหารที่กำหนดไว้ในข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องสถานที่จำหน่ายและสถานที่สะสมอาหาร พ.ศ.2545 อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยแก่ผู้ประกอบการกลุ่มเป้าหมาย 5. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-08-28)
28/8/2563 : ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มั-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2020-07-31)
31/7/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี - จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 456 ร้าน 1.ตรวจแนะนำและส่งเสริมให้สถานประกอบการจำหน่ายอาหารในพื้นที่เขต กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยตลาด มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านอาหาร จำนวน 60 แห่ง ประกอบด้วย 1.1 ตรวจสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร จำนวน 60 แห่ง 1.2. ตรวจสอบการปนเปื้อนทางด้านเคมี ในอาหารและวัตถุดิบ ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ไม่พบการปนเปื้อนทางด้านเคมี 1.3 ตรวจความสะอาดของอาหารพร้อมบริโภค ภาชนะอุปกรณ์ มือผู้สัมอาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียเบื้องต้น (SI-2) ไม่พบการปนเปื้อน 2. สรุปผลการดำเนินงาน สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 456 แห่ง ตรวจประเมิน 365 แห่ง (ร้านอาหาร 212 แห่ง มินิมาร์ท 80 แห่ง ตลาด 11 แห่ง ซุปเปอร์มาร์เก็ต 3 แห่ง) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 365 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 90 3. อยู่ระหว่างการขอป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 60 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2020-06-26)
2020-6-26 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2020-05-21)
21/5/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน 1.ตรวจแนะนำและส่งเสริมให้สถานประกอบการจำหน่ายอาหารในพื้นที่เขต กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยตลาด มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านอาหาร จำนวน 15 แห่ง ประกอบด้วย 1.1 ตรวจสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร จำนวน 15 แห่ง 1.2. ตรวจสอบการปนเปื้อนทางด้านเคมี ในอาหารและวัตถุดิบ ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ไม่พบการปนเปื้อนทางด้านเคมี 1.3 ตรวจความสะอาดของอาหารพร้อมบริโภค ภาชนะอุปกรณ์ มือผู้สัมอาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียเบื้องต้น (SI-2) ไม่พบการปนเปื้อน 2. สรุปผลการดำเนินงาน สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 430 แห่ง ตรวจประเมิน 300 แห่ง (ร้านอาหาร 206 แห่ง มินิมาร์ท 80 แห่ง ตลาด 11 แห่ง ซุปเปอร์มาร์เก็ต 3 แห่ง) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 300 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 70 3. อยู่ระหว่างการขอป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 15 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2020-04-24)
24/4/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...1.ตรวจแนะนำและส่งเสริมให้สถานประกอบการจำหน่ายอาหารในพื้นที่เขต กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยตลาด มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านอาหาร จำนวน 15 แห่ง ประกอบด้วย 1.1 ตรวจสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร จำนวน 15 แห่ง 1.2. ตรวจสอบการปนเปื้อนทางด้านเคมี ในอาหารและวัตถุดิบ ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ไม่พบการปนเปื้อนทางด้านเคมี 1.3 ตรวจความสะอาดของอาหารพร้อมบริโภค ภาชนะอุปกรณ์ มือผู้สัมอาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียเบื้องต้น (SI-2) ไม่พบการปนเปื้อน 2. สรุปผลการดำเนินงาน สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 436 แห่ง ตรวจประเมิน 262 แห่ง (ร้านอาหาร 193 แห่ง มินิมาร์ท 55 แห่ง ตลาด 11 แห่ง ซุปเปอร์มาร์เก็ต 3 แห่ง) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 262 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60 3. อยู่ระหว่างการขอป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 15 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :- สถานประกอบการบางแห่งหยุดประกอบกิจการตามคำสั่งกรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่่งปิดสถานที่เป้นการชั่วคราว
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2020-03-31)
31/3/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...1 .ตรวจสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร จำนวน 86 ราย - ร้านอาหาร จำนวน 79 ราย - มินิมาร์ท จำนวน 7 ราย 2. ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ 2.1 ตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี ทั้งหมด 122 ตัวอย่าง ได้แก่ - สารบอแรกซ์ จำนวน 39 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอร์มาลีน จำนวน 8 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 13 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 8 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 26 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 4 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพลาร์ จำนวน 12 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 9 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 2.2 ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 299 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ให้คำแนะนำทั้งหมด 78 ครั้ง - จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี - จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 443 ร้าน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2020-02-28)
28/2/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...1 .ตรวจสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร จำนวน 95 ราย - ร้านอาหาร จำนวน 67 ราย - มินิมาร์ท จำนวน 28 ราย 2. ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ 2.1 ตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี ทั้งหมด 123 ตัวอย่าง ได้แก่ - สารบอแรกซ์ จำนวน 40 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอร์มาลีน จำนวน 14 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 19 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 4 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 21 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 4 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพลาร์ จำนวน 12 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 7 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 2.2 ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 312 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ให้คำแนะนำทั้งหมด 95 ครั้ง - จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี - จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 443 ร้าน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 26.00 (2020-01-31)
31/1/2563 : อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูล
** ปัญหาของโครงการ :
** อุปสรรคของโครงการ :
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2019-12-30)
30/12/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...1 .ตรวจสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร จำนวน 67 ราย - ร้านอาหาร จำนวน 60 ราย - มินิมาร์ท จำนวน 7 ราย 2. ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ 2.1 ตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี ทั้งหมด 117 ตัวอย่าง ได้แก่ - สารบอแรกซ์ จำนวน 42 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอร์มาลีน จำนวน 10 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 17 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 5 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 23 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพลาร์ จำนวน 10 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 5 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 2.2 ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 341 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ให้คำแนะนำทั้งหมด 67 ครั้ง - จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี - จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 443 ร้าน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2019-11-29)
11/29/2019 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1 .ตรวจสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร จำนวน 59 ราย - ร้านอาหาร จำนวน 56 ราย - มินิมาร์ท จำนวน 3 ราย 2. ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ 2.1 ตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี ทั้งหมด 115 ตัวอย่าง ได้แก่ - สารบอแรกซ์ จำนวน 45 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอร์มาลีน จำนวน 10 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 15 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 5 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 20 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพลาร์ จำนวน 10 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 5 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 2.2 ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา จำนวน 322 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ให้คำแนะนำทั้งหมด 59 ครั้ง - จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี - จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 443 ร้าน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2019-10-30)
30/10/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...1.ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานที่เป้าหมาย - ตลาดประเภทที่ 1 จำนวน 2 ราย - ตลาดประเภทที่ 2 จำนวน 10 ราย - แผงจำหน่ายอาหาร จำนวน 10 ราย - ร้านอาหาร จำนวน 10 ราย - มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ จำนวน 12 ราย 2.ตรวจวิเคราะห์ด้านเคมี ทั้งหมด 107 ตัวอย่าง ได้แก่ - สารบอแร็กซ์ จำนวน 20 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอร์มาลีน จำนวน 8 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 29 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 5 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 15 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพลาร์ จำนวน 18 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 7 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3.ตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยา 89 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 4.ให้คำแนะนำทั้งหมด 98 ครั้ง ผลการตรวจไม่พบสารเคมีตกค้าง - จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 468 ร้าน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : 04.ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **