ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวประภาพร อำพลพงษ์ นักวิชาการ โทร.5119
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
ด้วยกรุงเทพมหานครเป็นศูนย์รวมของวัตถุดิบอาหาร เป็นแหล่งกระจายสินค้า วัตถุดิบอาหาร ส่วนใหญ่มีการนำเข้ามาจากต่างจังหวัด จากหลากหลายช่องทาง การผลิตวัตถุดิบอาหาร ซึ่งก็คือต้นน้ำของอาหาร ขั้นตอนการผลิต บางส่วนอยู่นอกเหนือการควบคุมกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร ส่งผลให้ผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครยังคบพบความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนด้านจุลินทรีย์ สารเคมีอันตรายต่าง ๆ ในวัตถุดิบอาหาร โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย มุ่งเน้นคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร เพื่อได้บริโภคอาหารสะอาด ปลอดภัย มีคุณภาพ ทั้งควบคุมดูแลการผลิตให้ใช้เทคโนโลยีสะอาด ไม่ก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม สำนักงานเขตคลองสาวา โดยฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผู้ประกอบการด้านอาหารและผู้เกี่ยวข้อง ยกระดับคุณภาพชีวิต ทำให้ประชาชนได้รับการคุ่้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และแก้ไขปัญหาที่อาจส่งผลกระทบคุณภาพชีวิตของประชาชนและนักท่องเที่ยวผู้ที่เข้ามาทำงานหรือพักอาศัยในพื้นที่เขตคลองสามวา
50460400/50460400
1. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาดสด ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงอาหารในโรงเรียน สร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 2. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร โดยความร่วมมือของผู้ประกอบการ 3. เพื่อให้ผู้บริโภคมีความรู้ในการเลือกซื้ออาหารและทราบสิทธิของผู้บริโภค
1. ตรวจคุณภาพอาหารในสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 172 แห่ง 2. สถานที่จำหน่ายอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และตลาด ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย 3. จัดตั้งเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน (ในสังกัดกรุงเทพมหานครและนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร) และเครือข่ายตลาด
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-23)
23/09/2564 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 10 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน - แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 5 แห่ง , ตลาด จำนวน - แห่ง, ตลาด จำนวน 10 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 5 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว สารกันรา ยาฆ่าแมลงโคลิฟอร์มแบคเรีย สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระ กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวน ทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 200 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 190 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมาขึ้นเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ความมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารด้านชีววิทยา -ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ผลทางด้านเคมี -รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2021-08-26)
26/08/2564 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 15 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน- แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 5 แห่ง, ตลาด จำนวน-แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 10 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, สารกันรา, ยาฆ่าแมลง จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 250 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 240 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมาขึ้นเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ความมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2021-07-23)
23/07/2564 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 15 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน - แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 10 แห่ง , ตลาด จำนวน -แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 5 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว สารกันรา ยาฆ่าแมลงโคลิฟอร์มแบคเรีย สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระ กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวน ทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 250 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 240 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :1.ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ 2.ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสมใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง 3.ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2021-06-23)
23/06/2564 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 23 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน - แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 10 แห่ง, ตลาด จำนวน 2 แห่ง และ ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 10 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, วารกันรา, ยาฆ่าแมลง,โคลิฟอร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมายจำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 400 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 390 ตัวอย่าง พอการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย นำสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหารสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2021-05-27)
27/05/2564 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 24 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน - แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 15 แห่ง , ตลาด จำนวน 10 แห่ง, ตลาด จำนวน 10 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 10 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว สารกันรา ยาฆ่าแมลงโคลิฟอร์มแบคเรีย สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระ กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวน ทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 400 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 390 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมาขึ้นเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ความมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2021-04-23)
23/04/2564 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 24 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน 2 แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 10 แห่ง, ตลาด จำนวน 2 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 10 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทาางเคมีทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์,ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว,สารกันรา, ยาฆ่าแมลง,โคลิฟอร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์,กรดแร่อิสระ,กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 330 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 320 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใน เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ความมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2021-03-25)
25/03/2564 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็น/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขสักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 25 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน 10 แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 10 ตลาด จำนวน- แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 5 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา ยาฆ่าแมลง โคลิฟอร์ม แบคทีเรีย สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระ กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 350 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 340 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงาานของแต่ละกิจการตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลานมากขึ้น เพิ่มช่องการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขวง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้านความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวจถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2021-02-25)
25/02/2564 : -ดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 26 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน 6 แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 5 แห่ง , ตลาด จำนวน 10 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 5 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน,ฟอร์มาลิน ,สารฟอกขาว, สารกันรา, ย่าฆ่าแมลง,โคลิฟอร์มแบคทีเรีย,สีสังเคราะห์,กรดแร่อิสระ,กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมายจำนวนทั้งหมด 2,720 ตัวอย่าง ตรวจ จำนวน 350 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 340 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการ่กระจายงบประมาณให้ามีความเหมาะสามกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทงการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2021-01-22)
22/01/2564 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 31 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน - แห่งร้านอาหาร จำนวน 10 แห่ง, ตลาด จำนวน 2 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 15 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, สารกันรา. ยาฆ่าแมลง, โคลิฟอร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 400 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 390 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหารสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2020-12-28)
28/12/2563 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มินมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 31 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน 6 แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 5 แห่ง, ตลาด จำนวน 10 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 10 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว,สารกันรา, ยาฆ่าแมลง,โคลิฟอร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 350 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 340 ตัวอย่าง พบการปนเปื้น 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ข่ดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2020-12-22)
22/12/2563 : jjjjjjjjjjjjjjj
** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2020-11-25)
11/25/2020 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 15 แห่ง ได้แก่ ร้านอาหาร จำนวน 5 แห่ง, ตลาด จำนวน - แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 10 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, สารกันรา, ยาฆ่าแมลง,โคลิฟอร์แบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 280 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 280 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน - ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงาน่ของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมาขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(13) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2020-10-29)
29/10/2563 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 10 แห่ง ได้แก่ ร้านอาหาร จำนวน 3 แห่ง ตลาด จำนวน 2 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 5 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา ยาฆ่าแมลงโคลิฟร์มแบคทีเรีย สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระ กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมา 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 250 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 250 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน-ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :4.1 ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ 4.2 ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากชึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง 4.3 ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **