ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวประภาพร อำพลพงษ์
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
โรคไข้เลือดออกเป็น 1 ใน 5 ของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานครในปี 2561 (7 มกราคม 2561 - 17 ตุลาคม 2561) พบว่าผู้ป่วยสะสมจำนวน 7,816 ราย อัตราป่วย 137.55 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 10 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.13 โดยจำนวนผู้ป่วยที่พบมากที่สุดเป็นกลุ่มเด็กและเยาวชน อายุระหว่าง 10 - 14 ปี รองลงมา ได้แก่ กลุ่มอายุ 5-9 ปี และ 15-24 ปี ตามลำดับ โดยอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 80 (ปี 2556 - 2560) มีค่าเท่ากับ 312.62 ต่อแสนประชากร ซึ่งอัตราป่วยอยู่ในระดับสูงและยังเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในลำดับต้น ๆ ของกรุงเทพมหานคร ที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตทั้งในด้านการเจ็บป่วย เสียชีวิต สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประชาชน และความสูญเสียทางด้่านเศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวม ซึ่งโรคไข้เลือดออกมีปัจจัยสนับสนุนมาจากความหนาแน่น แออัด วิถีชีวิต และการเคลื่อนย้ายของประชากร ทำให้ไม่สามารถจัดการกับภาชนะแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายได้ตามเป้าหมาย ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตคลองสามวา ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้ประสบความสำเร็จ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไช้เลือดออกในพื้นที่เขตคลองสามวา ประจำปีงบประมาณ 2564 เพื่อบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตคลองสามวา โดยขยายเครือข่ายให้ครอบคลุม และส่งเสริม พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้มีการดำเนินการด้านความปลอดภัยป้องกันโรคไข้เลือดออกตามมาตรการอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่เขตคลองสามวา ตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานครอย่างยั่งยืนต่อไป
50460400/50460400
1. เพื่อเสริมสร้างระบบกลไกในการดำเนินงานด้านการควบคุมโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทุกระดับ ให้เกิดความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง 3. เพื่อให้พื้่นที่เป้าหมายในเขตคลองสามวาเป็นพื้นทีปลอดลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ์ที่กำหนด
1.ดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ ให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกให้แก่ตัวแทนชุมขน ชุมชนละ 25 คน จำนวน 81 ชุมชน (ชุมชนละ 3 ครั้ง) 2.ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน จำนวน 81 แห่ง (ชุมชนจัดตั้งตามระเบียบกรุงเทพมหานคร) ให้มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด (hi 10) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา% |
๑.๒.๒.๑ เพิ่มระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังยาเสพติด |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-23)
23/09/2564 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ
** ปัญหาของโครงการ :-งบประมาณบางส่วน ส่งคืน 386,250 บาท ไม่สามารถลงพื้นที่ได้เนื่องจากสถานการณ์โควิด -19
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2021-08-26)
26/08/2564 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2021-07-23)
23/07/2564 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการ 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นตัวเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวจภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2021-06-24)
24/06/2564 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2021-05-27)
27/05/2564 -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ -1.จัดกิจกรรมณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ่ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุนชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2021-04-23)
23/04/2564 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2021-03-25)
25/03/2564 : ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ -จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย -ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงนผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร์วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2021-02-25)
25/02/2564 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ 1.จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่งเสริมชุมชนดำเนินการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดดรคเกิดขึ้นเมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ว่ายจะพบแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานคร มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2021-01-22)
22/01/2564 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ -ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยจของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป้นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2020-12-23)
23/12/2563 : -ออกปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานตามโครงการฯ
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ -ประชาชนไมตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดต้้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชนเป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2020-11-25)
11/25/2020 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการ (อธิบาย/บรรยาย) -ทำหนังสือขออนุมัติและเบิกจ่ายให้ข้าราชการและลูกจ้างฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลปฏิบัติงานนอกเวลาฯ -จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานตามโครงการฯ
** ปัญหาของโครงการ :-ประชาชนไม่ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมุลข่าวสารที่จำเป็นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือกออก และไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ -ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้รนหรือในชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุงแต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก และในทุกชุมชนที่มีการแจ้งการเกิดโรคเกิดขึ้น เมื่อลงพื้นที่สำรวจบ้านพักอาศัยของผู้ป่วย หรือบริเวณใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยจะพบแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ในแต่ละชุมชนจัดตั้งของกรุงเทพมหานครมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน แต่ไม่มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดการระบาดอย่างรวดเร็วภายในชุมชน เป็นอุปสรรคสำคัญและยากต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2020-11-06)
6/11/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ได้ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวเต็มวัย กรณีได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
** ปัญหาของโครงการ :1. ประชาชนไม่ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ 2. ประชาชนไม่ตระหนักและไม่ให้ความร่วมมือในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกในบ้านหรือชุมชน ประชาชนจะมุ่งเน้นให้ทางราชการเข้าดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีเพื่อกำจัดยุง แต่ไม่ร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นต้นเหตุแห่งการเกิดของโรคไข้เลือดออก
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินงานในภาพรวมของสำนักงานเขตคลองสามวา
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **