ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 08000000

Home Home SED


๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(1) ร้อยละของสถานประกอบการได้รับการส่งเสริมการป้องการและควบคุมปัญหามลพิษอากาศ (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพผู้ติดเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีมาตรฐานแ
ร้อยละของสถานประกอบการได้รับการส่งเสริมการป้องการและควบคุมปัญหามลพิษอากาศ (ผลผลิต)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการรวบรวมแบบสำรวจข้อมูลมลพิษอากาศจากการประกอบกิจการโรงแรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (หม้อไอน้ำ) โรงแรมส่งแบบสำรวจ มา 309 แห่ง พบว่า มีหม้อไอน้ำ 52 แห่งและมี Cooling Tower 76 แห่ง - ลงพื้นที่สำรวจและศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของการจัดการหม้อไอน้ำและระบบการการป้องกันเชื้อ Legionella ในสถานประกอบกิจการโรงแรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เนื่องจากสถานการณ์โควิด ดำเนินการยกเลิกกิจกรรม การสัมมนาฯ และคืนเงิน งบประมาณ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ไม่ครบมื้อ) เป็นเงิน 306,000 บาท ค่าวิทยากร 39,900 บาท และค่าจัดทำเอกสารประกอบการสัมมนา 50,000 บาท จัดทำแบบประเมินมลพิษอากาศจากหม้อไอน้ำกิจการโรงแรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เนื่องจากสถานการณ์โควิด ระลอก3 จึงดำเนินการยกเลิกกิจกรรมสุ่มตรวจการประเมินหม้อไอน้ำกิจการโรงแรม จำนวน 100 ราย คืนเงิน จำนวน 39,900 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดทำรายงานสรุปการดำเนินกิจกรรมเพื่อเสนอต่อผู้บริหารทราบ ผลการสำรวจกิจการโรงแรมที่มีการติดตั้งหม้อไอน้ำ (Boiler) จำนวน 54 แห่ง (297แห่งที่เข้าร่วมโครงการ) โดยหม้อไอน้ำมีการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ (NG) 44.07% LPG 5.08% น้ำมันเตา 15.25% และอื่นๆ 35.60%

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(2) ร้อยละของสถานประกอบการได้รับการส่งเสริมการป้องการและควบคุมปัญหามลพิษอากาศ (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพผู้ติดเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีมาตรฐานแ
ร้อยละของสถานประกอบการได้รับการส่งเสริมการป้องการและควบคุมปัญหามลพิษอากาศ (ผลผลิต)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการรวบรวมแบบสำรวจข้อมูลมลพิษอากาศจากการประกอบกิจการโรงแรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (หม้อไอน้ำ) โรงแรมส่งแบบสำรวจ มา 309 แห่ง พบว่า มีหม้อไอน้ำ 52 แห่งและมี Cooling Tower 76 แห่ง - ลงพื้นที่สำรวจและศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของการจัดการหม้อไอน้ำและระบบการการป้องกันเชื้อ Legionella ในสถานประกอบกิจการโรงแรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เนื่องจากสถานการณ์โควิด ดำเนินการยกเลิกกิจกรรม การสัมมนาฯ และคืนเงิน งบประมาณ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ไม่ครบมื้อ) เป็นเงิน 306,000 บาท ค่าวิทยากร 39,900 บาท และค่าจัดทำเอกสารประกอบการสัมมนา 50,000 บาท จัดทำแบบประเมินมลพิษอากาศจากหม้อไอน้ำกิจการโรงแรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เนื่องจากสถานการณ์โควิด ระลอก3 จึงดำเนินการยกเลิกกิจกรรมสุ่มตรวจการประเมินหม้อไอน้ำกิจการโรงแรม จำนวน 100 ราย คืนเงิน จำนวน 39,900 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดทำรายงานสรุปการดำเนินกิจกรรมเพื่อเสนอต่อผู้บริหารทราบ ผลการสำรวจกิจการโรงแรมที่มีการติดตั้งหม้อไอน้ำ (Boiler) จำนวน 54 แห่ง (297แห่งที่เข้าร่วมโครงการ) โดยหม้อไอน้ำมีการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ (NG) 44.07% LPG 5.08% น้ำมันเตา 15.25% และอื่นๆ 35.60%

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(3) ร้อยละของของเรื่องร้องเรียนเหตุรำคาญเกี่ยวกับมลภาวะทางเสียงของสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการร้องขอจากสำนักงานเขตได้รับการตรวจสอบและรายงานผล (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๓ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละของของเรื่องร้องเรียนเหตุรำคาญเกี่ยวกับมลภาวะทางเสียงของสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการร้องขอจากสำนักงานเขตได้รับการตรวจสอบและรายงานผล (ผลผลิต)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :85.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
50.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. รับเรื่องร้องเรียนเข้าสู่ระบบการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนของสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 2 เรื่อง 2. มอบหมายงานตามลำดับ 3. ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมและประสานนัดหมายผู้เกี่ยวข้องก่อนลงพื้นที่แล้ว จำนวน 1 เรื่อง 4. ลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงตามที่ร้องเรียนและตรวจวัดด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์แล้ว จำนวน 1 เรื่อง 5. วิเคราะห์ผล เปรียบเทียบผลตามข้อกฎหมาย สรุปผลและจัดทำรายงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามลำดับแล้ว จำนวน 1 เรื่อง 6. เรื่องร้องเรียนได้รับการตรวจสอบและรายงานผลแล้ว จำนวน 1 เรื่อง - วิธีการคำนวณ เรื่องร้องเรียนได้รับการตรวจสอบและรายงานผล 1 เรื่อง X 100 หารด้วยเรื่องร้องเรียนเข้าสู่ระบบฯ 2 เรื่อง (1 เรื่อง X 100 / 2 เรื่อง = 50 %)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. รับเรื่องร้องเรียนเข้าสู่ระบบการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนของสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 4 เรื่อง 2. มอบหมายงานตามลำดับ 3. ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมและประสานนัดหมายผู้เกี่ยวข้องก่อนลงพื้นที่แล้ว จำนวน 3 เรื่อง 4. ลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงตามที่ร้องเรียนและตรวจวัดด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์แล้ว จำนวน 3 เรื่อง 5. วิเคราะห์ผล เปรียบเทียบผลตามข้อกฎหมาย สรุปผลและจัดทำรายงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามลำดับแล้ว จำนวน 2 เรื่อง 6. เรื่องร้องเรียนได้รับการตรวจสอบและรายงานผลแล้ว จำนวน 2 เรื่อง - วิธีการคำนวณ เรื่องร้องเรียนได้รับการตรวจสอบและรายงานผล 2 เรื่อง X 100 หารด้วยเรื่องร้องเรียนเข้าสู่ระบบฯ 4 เรื่อง (2 เรื่อง X 100 / 4 เรื่อง = 50 %)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. รับเรื่องร้องเรียนเข้าสู่ระบบการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนของสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 5 เรื่อง 2. มอบหมายงานตามลำดับ 3. ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมและประสานนัดหมายผู้เกี่ยวข้องก่อนลงพื้นที่แล้ว จำนวน 5 เรื่อง 4. ลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงตามที่ร้องเรียน จำนวน 5 เรื่อง 5. วิเคราะห์ผล เปรียบเทียบผลตามข้อกฎหมาย สรุปผลและจัดทำรายงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามลำดับแล้ว จำนวน 5 เรื่อง 6. เรื่องร้องเรียนได้รับการตรวจสอบและรายงานผลแล้ว จำนวน 5 เรื่อง - วิธีการคำนวณ เรื่องร้องเรียนได้รับการตรวจสอบและรายงานผล 5 เรื่อง X 100 หารด้วยเรื่องร้องเรียนเข้าสู่ระบบฯ 5 เรื่อง (5 เรื่อง X 100 / 5 เรื่อง = 100 %)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. รับเรื่องร้องเรียนเข้าสู่ระบบการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนของสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 5 เรื่อง 2. มอบหมายงานตามลำดับ 3. ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมและประสานนัดหมายผู้เกี่ยวข้องก่อนลงพื้นที่แล้ว จำนวน 5 เรื่อง 4. ลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงตามที่ร้องเรียน จำนวน 5 เรื่อง 5. สรุปผลและจัดทำรายงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามลำดับแล้ว จำนวน 5 เรื่อง 6. เรื่องร้องเรียนได้รับการตรวจสอบและรายงานผลให้สำนักงานเขตทราบแล้ว จำนวน 5 เรื่อง - วิธีการคำนวณ เรื่องร้องเรียนได้รับการตรวจสอบและรายงานผล 5 เรื่อง X 100 หารด้วยเรื่องร้องเรียนเข้าสู่ระบบฯ 5 เรื่อง (5 เรื่อง X 100 / 5 เรื่อง = 100 %)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(4) ร้อยละของชุมชนที่มีความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ร้อยละของชุมชนที่มีความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :65.00

ผลงาน :82.90

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

95 / 100
2
76.54

0 / 0
3
76.54

0 / 0
4
82.90

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างประมวลผลข้อมูลในระบบ NISPA

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนชุมชนจดทะเบียนในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2564 ทั้งหมด 2,012 ชุมชน มีชุมชนที่มีการดำเนินงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 6 ใน 10 ข้อ ตามเกณฑ์การประเมินของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,540 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 76.54 (ข้อมูลจากการประเมินฯ ปีการประเมิน พ.ศ. 2564 ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนชุมชนจดทะเบียนในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2564 จำนวน 2,012 ชุมชน ชุมชนที่มีการดำเนินงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 6 ใน 10 ข้อ ตามเกณฑ์การประเมินของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,540 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 76.54 (ข้อมูลจากการประเมินฯ ปีการประเมิน พ.ศ.2564 ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564) ซึ่งอยู่ระหว่างประมวลข้อมูลในระบบ NISPA (ครั้งที่ 2 เมษายน - สิงหาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนชุมชนจดทะเบียนในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2564 จำนวน 2,012 ชุมชน ชุมชนที่มีการดำเนินงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 6 ใน 10 ข้อ ตามเกณฑ์การประเมินของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,668 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 82.90 (ข้อมูลจากการประเมินฯ ปีการประเมิน พ.ศ.2564 ครั้งที่ 2 เมษายน - กันยายน 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(5) ร้อยละของชุมชนที่มีความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละของชุมชนที่มีความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :65.00

ผลงาน :82.90

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

95 / 100
2
76.54

0 / 0
3
76.54

0 / 0
4
82.90

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างประมวลผลข้อมูลในระบบ NISPA

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนชุมชนจดทะเบียนในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2564 ทั้งหมด 2,012 ชุมชน มีชุมชนที่มีการดำเนินงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 6 ใน 10 ข้อ ตามเกณฑ์การประเมินของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,540 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 76.54 (ข้อมูลจากการประเมินฯ ปีการประเมิน พ.ศ. 2564 ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนชุมชนจดทะเบียนในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2564 จำนวน 2,012 ชุมชน ชุมชนที่มีการดำเนินงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 6 ใน 10 ข้อ ตามเกณฑ์การประเมินของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,540 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 76.54 (ข้อมูลจากการประเมินฯ ปีการประเมิน พ.ศ.2564 ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564) ซึ่งอยู่ระหว่างประมวลข้อมูลในระบบ NISPA (ครั้งที่ 2 เมษายน - สิงหาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนชุมชนจดทะเบียนในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2564 จำนวน 2,012 ชุมชน ชุมชนที่มีการดำเนินงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 6 ใน 10 ข้อ ตามเกณฑ์การประเมินของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,668 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 82.90 (ข้อมูลจากการประเมินฯ ปีการประเมิน พ.ศ.2564 ครั้งที่ 2 เมษายน - กันยายน 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(6) ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังภัยยาเสพติด (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังภัยยาเสพติด (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :65.00

ผลงาน :78.20

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
78.65

0 / 0
3
72.20

0 / 0
4
78.20

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- อยู่ระหว่างทำหนังสือประสานสำนักงานเขตสำรวจจำนวนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ต้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - อยู่ระหว่างรวบรวมผลการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร - อยู่ระหว่างจัดทำโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในสถานศึกษา โดยนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ จะร่วมเป็นอาสาสมัครดำเนินการจัดกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. อาสาสมัครที่ร่วมดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประกอบด้วย อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร และอาสาสมัครในสถานศึกษา 2. จำนวนของอาสาสมัครฯ รวม 9,579 คน มีการดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เช่น การค้นหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด การติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดรักษา การแจ้งข้อมูลข่าวสาร ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านยาเสพติด จำนวน 7,534 คน คิดเป็นร้อยละ 78.65 (ข้อมูล ณ วันที่ 23 มีนาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. อาสาสมัครที่ร่วมดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประกอบด้วย อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร และอาสาสมัครในสถานศึกษา 2. อาสาสมัครฯ ทั้งหมด จำนวน 13,419 คน ดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เช่น การค้นหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด การติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดรักษา การแจ้งข้อมูลข่าวสาร ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านยาเสพติด จำนวน 9,689 คน คิดเป็นร้อยละ 72.20 (ข้อมูล ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. อาสาสมัครที่ร่วมดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประกอบด้วย อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร และอาสาสมัครในสถานศึกษา 2. อาสาสมัครฯ ทั้งหมด จำนวน 13,419 คน ดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เช่น การค้นหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด การติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดรักษา การแจ้งข้อมูลข่าวสาร ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านยาเสพติด จำนวน 10,493 คน คิดเป็นร้อยละ 78.20 (ข้อมูล 1 ต.ค.2563 - 30 ก.ย. 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(7) ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังภัยยาเสพติด (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังภัยยาเสพติด (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :65.00

ผลงาน :78.20

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
78.65

0 / 0
3
72.20

0 / 0
4
78.20

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- อยู่ระหว่างทำหนังสือประสานสำนักงานเขตสำรวจจำนวนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ต้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - อยู่ระหว่างรวบรวมผลการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร - อยู่ระหว่างจัดทำโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในสถานศึกษา โดยนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ จะร่วมเป็นอาสาสมัครดำเนินการจัดกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. อาสาสมัครที่ร่วมดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประกอบด้วย อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร และอาสาสมัครในสถานศึกษา 2. จำนวนของอาสาสมัครฯ รวม 9,579 คน มีการดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เช่น การค้นหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด การติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดรักษา การแจ้งข้อมูลข่าวสาร ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านยาเสพติด จำนวน 7,534 คน คิดเป็นร้อยละ 78.65 (ข้อมูล ณ วันที่ 23 มีนาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. อาสาสมัครที่ร่วมดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประกอบด้วย อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร และอาสาสมัครในสถานศึกษา 2. อาสาสมัครฯ ทั้งหมด จำนวน 13,419 คน ดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เช่น การค้นหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด การติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดรักษา การแจ้งข้อมูลข่าวสาร ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านยาเสพติด จำนวน 9,689 คน คิดเป็นร้อยละ 72.20 (ข้อมูล ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. อาสาสมัครที่ร่วมดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประกอบด้วย อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร และอาสาสมัครในสถานศึกษา 2. อาสาสมัครฯ ทั้งหมด จำนวน 13,419 คน ดำเนินกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เช่น การค้นหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด การติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดรักษา การแจ้งข้อมูลข่าวสาร ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านยาเสพติด จำนวน 10,493 คน คิดเป็นร้อยละ 78.20 (ข้อมูล 1 ต.ค.2563 - 30 ก.ย. 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(8) ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีภูมิคุ้มกันในระดับปกติ (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีภูมิคุ้มกันในระดับปกติ (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :55.00

ผลงาน :55.20

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
53.09

0 / 0
3
55.20

0 / 0
4
55.20

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างประสานโรงเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดกรุงเทพมหานคร ดำเนินการทำแบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติดสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีทื่ 1 สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการทำแบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติด จำนวน 10,000 คน มีผลอยู่ในระดับปกติ จำนวน 5,309 คน คิดเป็นร้อยละ 53.09 (ข้อมูล ณ วันที่ 19 มีนาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการทำแบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติด จำนวน 10,841 คน มีผลอยู่ในระดับปกติ 5,984 คน คิดเป็นร้อยละ 55.2 (ข้อมูล ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการทำแบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติด จำนวน 10,841 คน มีผลอยู่ในระดับปกติ 5,984 คน คิดเป็นร้อยละ 55.2 (ข้อมูล ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(9) ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีภูมิคุ้มกันในระดับปกติ (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีภูมิคุ้มกันในระดับปกติ (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :55.00

ผลงาน :55.20

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
53.09

0 / 0
3
55.20

0 / 0
4
55.20

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างประสานโรงเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดกรุงเทพมหานคร ดำเนินการทำแบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติดสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีทื่ 1 สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการทำแบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติด จำนวน 10,000 คน มีผลอยู่ในระดับปกติ จำนวน 5,309 คน คิดเป็นร้อยละ 53.09 (ข้อมูล ณ วันที่ 19 มีนาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการทำแบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติด จำนวน 10,841 คน มีผลอยู่ในระดับปกติ 5,984 คน คิดเป็นร้อยละ 55.2 (ข้อมูล ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการทำแบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติด จำนวน 10,841 คน มีผลอยู่ในระดับปกติ 5,984 คน คิดเป็นร้อยละ 55.2 (ข้อมูล ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(10) ร้อยละความสำเร็จของผู้เสพยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดหยุดเสพต่อเนื่องหลังจำหน่ายจากการบำบัดที่ระยะที่ 3 เดือน ( 3 Months Remission Rate) (ผลลัพธ์)(ตัวชี้วัดเจรจา)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ร้อยละความสำเร็จของผู้เสพยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดหยุดเสพต่อเนื่องหลังจำหน่ายจากการบำบัดที่ระยะที่ 3 เดือน ( 3 Months Remission Rate) (ผลลัพธ์)(ตัวชี้วัดเจรจา)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :97.80

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
88.64

0 / 0
3
98.50

0 / 0
4
97.80

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างรวบรวมผลการดำเนินงานจากศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อนำมาประมวลผลร่วมกับข้อมูลในระบบ บสต.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนผู้เสพยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและได้รับการติดตามพบตัว ทั้งหมด 88 คน ไม่เสพ จำนวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 88.64 (ข้อมูลจากระบบ บสต. ณ วันที่ 12 มีนาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนผู้เสพยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและได้รับการติดตามพบตัว ทั้งหมด 201 คน ไม่เสพ 198 คน คิดเป็นร้อยละ 98.50 (ข้อมูล ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนผู้เสพยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและได้รับการติดตามพบตัว ทั้งหมด 456 คน ไม่เสพ 446 คน คิดเป็นร้อยละ 97.80 (ข้อมูล ณ กันยายน 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(11) ร้อยละความสำเร็จของผู้เสพยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดหยุดเสพต่อเนื่องหลังจำหน่ายจากการบำบัดที่ระยะที่ 3 เดือน ( 3 Months Remission Rate) (ผลลัพธ์)(ตัวชี้วัดเจรจา)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละความสำเร็จของผู้เสพยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดหยุดเสพต่อเนื่องหลังจำหน่ายจากการบำบัดที่ระยะที่ 3 เดือน ( 3 Months Remission Rate) (ผลลัพธ์)(ตัวชี้วัดเจรจา)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :97.80

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
88.64

0 / 0
3
98.50

0 / 0
4
97.80

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างรวบรวมผลการดำเนินงานจากศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อนำมาประมวลผลร่วมกับข้อมูลในระบบ บสต.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนผู้เสพยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและได้รับการติดตามพบตัว ทั้งหมด 88 คน ไม่เสพ จำนวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 88.64 (ข้อมูลจากระบบ บสต. ณ วันที่ 12 มีนาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนผู้เสพยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและได้รับการติดตามพบตัว ทั้งหมด 201 คน ไม่เสพ 198 คน คิดเป็นร้อยละ 98.50 (ข้อมูล ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนผู้เสพยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและได้รับการติดตามพบตัว ทั้งหมด 456 คน ไม่เสพ 446 คน คิดเป็นร้อยละ 97.80 (ข้อมูล ณ กันยายน 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๕ - เมืองสุขภาพดี (Healthy City)

(12) ร้อยละของชายมีเพศสัมพันธ์กับชายเข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกันเอดส์ (กอพ.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ร้อยละของชายมีเพศสัมพันธ์กับชายเข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกันเอดส์ (กอพ.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :92.63

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
4.90

100 / 100
2
50.20

0 / 0
3
63.70

0 / 0
4
92.63

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2564 จำนวน 33,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 1,617 คน คิดเป็นร้อยละ 4.90

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2564 จำนวน 33,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 16,564 คน คิดเป็นร้อยละ 50.20

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2564 จำนวน 33,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 21,027 คน คิดเป็นร้อยละ 63.7

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2564 จำนวน 33,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 30,568 คน คิดเป็นร้อยละ 92.63

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(13) ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มารับบริการ ณ ศุนย์บริการสาธารณสุขได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (ผลลัพธ์) (กอพ.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มารับบริการ ณ ศุนย์บริการสาธารณสุขได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (ผลลัพธ์) (กอพ.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :97.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 22 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 102 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 102 คน คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 191 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 191 คน คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 259 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 259 คน คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(14) ร้อยละผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรค (ผู้ป่วยวัณโรคปอด/นอกปอดรายใหม่/กลับเป็นว้ำทั้งเสมหะพบเชื้อและไม่พบเชื้อ (ผลลัพธ์) (กอพ.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ร้อยละผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรค (ผู้ป่วยวัณโรคปอด/นอกปอดรายใหม่/กลับเป็นว้ำทั้งเสมหะพบเชื้อและไม่พบเชื้อ (ผลลัพธ์) (กอพ.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :89.00

ผลงาน :90.27


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
85.91

100 / 100
2
89.02

0 / 0
3
89.70

0 / 0
4
90.27

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1/2563 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 149 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 128 คน คิดเป็นร้อยละ 85.91

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1-2/2563 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 337 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 300 คน คิดเป็นร้อยละ 89.02

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1-3/2563 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 495 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 444 คน คิดเป็นร้อยละ 89.70

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 2563 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 648 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 585 คน คิดเป็นร้อยละ 90.27

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(15) อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :20.51


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
11.83

0 / 0
3
15.10

0 / 0
4
20.51

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการสำรวจค่า CI HI ตามแผน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนผู้ป่วย x 100,000 / ประชากรปี 2563 661 x 100,000 / 5,588,222 = 11.83 ไม่เกินเปอร์เซนไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง (<298.56)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนผู้ป่วย x 100,000 / ประชากรปี 2563 844 x 100,000 / 5,588,222 = 15.10 ไม่เกินเปอร์เซนไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง (<298.56)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนผู้ป่วย x 100,000 / ประชากรปี 2563 1146 x 100,000 / 5,588,222 = 20.51 ไม่เกินเปอร์เซนไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง (<298.56)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(16) ร้อยละความสำเร็จของผู้ติดเชื้อโควิด-19 ได้รับการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ร้อยละความสำเร็จของผู้ติดเชื้อโควิด-19 ได้รับการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
79.34

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการรับแจ้งข่าวและลงสอบสวนโรค COVID-19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานสอบสวนโรคดำเนินการเรียบร้อยแล้ว x 100 / ยอดทั้งหมดของรายงานสอบสวนโรค 845x100/1,065 = 79.34

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการตามกระบวนการ ดังนี้- รับแจ้งข้อมูลผู้ป่วย ผู้สัมผัส - ติดตามข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ - จัดทำฐานข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยผู้สัมผัส - จัดทำรายงานสถานการณ์ - ปฏิบัติการสอบสวนโรคในพื้นที่ - จัดทำรายงานสอบสวนโรค - ติดตามการสอบสวนโรคและรายงานสอบสวนโรคของศูนย์บริการสาธารณสุข กลุ่มผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการแพร่ระบาดในลักษณะกลุ่มก้อน (Cluster) ตามที่นำเสนอต่อที่ประชุม ศบค.กทม. ได้รับการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น จำนวน 220 Cluster

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

กลุ่มผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการแพร่ระบาดในลักษณะกลุ่มก้อน (Cluster) 220 x 100/220 = 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(17) ร้อยละของการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ร้อยละของการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย (ผลผลิต)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :75.00

ผลงาน :62.55


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
62.55

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

วางแผนการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ประชุมวางแผนการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

กระจายวัคซีนให้ศบส. และศบส.กำลังให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่แก่กลุ่มเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ให้บริการฉีดวัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมาย และสรุปผลการดำเนินงาน วัคซีนที่ได้รับสนับสนุนฟรีจำนวน 85714 ขวด กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีนจำนวน 53613 คน (53613×100÷85714=62.55)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(18) ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาล (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาล (ผลผลิต)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :94.12


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
94.12

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

วางแผนการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างขออนุมัติยกเลิกโครงการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด19 ระลอกใหม่ยังพบผู้ป่วยสูงขึ้นเรื่อยๆ และตั้งแต่ต้นเดือนมีนาคม2564 พบการระบาดเป็นกลุ้มก้อนในพื้นที่เขตบางแค บางขุนเทียน เจ้าหน้าของกองควบคุมโรคติดต่อ รวมถึงพยาบาล นักวิชาการสาธารณสุขของศูนย์บริการสาธารณสุขซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ต้องระดมสรรพกำลังในการควบคุมโรคโควิดไม่ให้ระบาดในวงกว่้าง ประกอบกับต้องระดมกำลังให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิดให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ทันเวลาตามนโยบายของรัฐบาล ด้วยเงื่อนไขและเงื่อนเวลาดังกล่าว กองควบคุมโรคติดต่อพิจารณาว่า กลุ่มเป้าหมายไม่สามารถที่จะเข้าร่วมประชุมตามแผนปฏิบัติงานที่โครงการกำหนดจึงได้ทำหนังสือเรียนผู้อำนวยการสำนักอนามัย เพื่อขออนุมัติยกเลิกโครงการ หมายเหตุ โครงการนี้ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณประจำปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ยกเลิกโครงการที่สนับสนุนตัวชี้วัด แต่ได้นำกิจกรรมที่เป็นงานประจำคือประชุมเชิงปฏิบัติการการเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษามาทดแทน โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นเจ้าหน้าที่จากสำนักงานเขต ศูนย์บริการสาธารณสุข หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ประชุมเชิงปฏิบัติการการเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษาในวันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2563 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ดินแดง วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคระบบทางเดินหายใจในสถานศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน และสถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน และเพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันและลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องจากกลุ่มเขตทั้ง 6 กลุ่ม พยาบาลศูนย์บริการสาธารณสุขจากทั้ง 6 กลุ่มเขต สำนักการศึกษา สำนักงานสิ่งแวดล้อม และเจ้าหน้าที่กองควบคุมโรคติดต่อ กลุ่มเป้าหมายจำนวน 34 คน ผลการดำเนินงาน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาลตามเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 94.12 (จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 34 คน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาลตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 32 คน =32*100/34=94.12%)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(19) จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลผลิต)

หน่วยนับ :ราย

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ราย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 6,967 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน1,717 ตัว แมว จำนวน5,248 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 2 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 64 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 55,544 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 23,258 ตัว แมว จำนวน 31,956 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 230 ตัว อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 สามารถดำเนินการได้ จำนวนทั้งสิ้น 89,481 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 39,184 ตัว แมวจำนวน 50,013 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 284 ตัว อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 สามารถดำเนินการได้ จำนวนทั้งสิ้น 101,201 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 44,322 ตัว แมวจำนวน 56,594 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 285 ตัว อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า.../

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(20) ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน (ผลลัพธ์) 1.1 โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ 1.2 เด็กที่ผ่านเกณฑ์
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน (ผลลัพธ์) 1.1 โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ 1.2 เด็กที่ผ่านเกณฑ์

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :70.00

ผลงาน :70.11

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
63.84

0 / 0
3
69.99

0 / 0
4
70.11

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

วิเคราะห์ข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียน /จัดทำแผนการดำเนินงานกิจกรรมป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รวบรวมข้อมูลจากศูนย์บริการสาธารณสุข เด็กและเยาวชนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครและนอกสังกัดได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ จำนวน 252,328 คน มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน 161,074 คน คิดเป็นร้อยละ 63.84

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รวบรวมข้อมูลการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงของนักเรียน เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครและนอกสังกัด จากศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ภาคเรียนที่ 1/2563 พบว่าเด็กและเยาวชนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครและนอกสังกัด ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ คิดเป็นร้อยละ 100 เด็กนักเรียน จำนวน 395,859 คน มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน จำนวน 277,076 คน คิดเป็นร้อยละ 69.99 เเละอยู่ระหว่างขั้นตอนรวบรวมข้อมูลภาวะโภชนาการโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครและนอกสังกัด จากศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ภาคเรียนที่ 2/2563 รวมถึงการตรวจสอบข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานมาตรการป้องกันโรคอ้วน เเละภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดทำหนังสือขอความร่วมมือไปยังศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ให้ดำเนินการจัดส่งแบบรายงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และแบบรายงานมาตรการป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน ภาคเรียนที่ 2/2563 รวบรวม ตรวจสอบ วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูลการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงของเด็กนักเรียน การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครและนอกสังกัด จากศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ภาคเรียนที่ 2/2563 พบว่าเด็กและเยาวชนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครและนอกสังกัด จำนวนทั้งสิ้น 661 แห่ง ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และเข้าร่วมดำเนินมาตรการป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน จำนวน 413,705 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เด็กและเยาวชนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครและนอกสังกัด จำนวน 413,705 คน มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน จำนวน 290,031 คน คิดเป็นร้อยละ 70.11

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(21) ร้อยละของประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการอ้วนลงพุงมีรอบเอวหรือค่า BMI ลดลงจากเดิม (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการอ้วนลงพุงมีรอบเอวหรือค่า BMI ลดลงจากเดิม (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :90.80


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
87.20

0 / 0
4
90.80

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการขออนุมัติโครงการฯ /จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานให้กับหัวหน้าพยาบาลหรือแกนนำที่ผ่านการอบรมโครงวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ ทั้ง 69 แห่ง /จัดทำหนังสือชี้แจงการดำเนินงานโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพและติดต่อประสานงานคณะกรรมการเพื่อเชิญเป็นคณะกรรมการตัดสิน /จัดทำร่างหลักเกณฑ์การประกวด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดทำร่างหลักเกณฑ์การประกวด /รวบรวมโครงการ กิจกรรมการดำเนินโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ และผลการชั่งน้ำหนักประจำเดือน จากศูนย์บริการสาธารณสุข

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างขั้นตอนรวบรวมผลการดำเนินงานโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ จากศูนย์บริการสาธารณสุข 1 - 69 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 1,290 คน ที่มีภาวะเสี่ยง/่ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ค่าดัชนีมวลกายเกินหรือเส้นรอบเอวเกิน หลังเข้าร่วมโครงการฯ มีรอบเอวหรือค่า BMI ลดลงจากเดิม จำนวน 1,125 คน คิดเป็นร้อยละ 87.20

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดทำหนังสือขออนุมัติถึงผู้อำนวยการสำนักอนามัย เรื่องขออนุมัติเลื่อนระยะเวลาการดำเนินโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564 จากระยะเวลาสิ้นสุดเดือนกันยายน ออกไปเป็น30 ธันวาคม 2564/สรุปการติดตามรวบรวมข้อมูลและประเมินผลโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการฯจำนวน 2,641 คน ที่มีภาวะเสี่ยง/ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ค่าดัชนีมวลกายเกินหรือเส้นรอบเอวเกิน หลังเข้าร่วมโครงการฯมีรอบเอวหรือค่า BMI ลดลงจากเดิม จำนวน 2,398 คน คิดเป็นร้อยละ 90.80

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(22) จำนวนครั้งของกิจกรรมหรือโครงการที่ดำเนินการร่วมกับภาคีเครือข่ายภายนอกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครด้านสุขภาพ (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
จำนวนครั้งของกิจกรรมหรือโครงการที่ดำเนินการร่วมกับภาคีเครือข่ายภายนอกหน่วยงานของกรุงเทพมหานครด้านสุขภาพ (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :24.00

ผลงาน :29.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
11.00

100 / 100
2
23.00

0 / 0
3
29.00

0 / 0
4
29.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ครั้งที่ 1 : วันที่ 15 ต.ค. 2563 จัดประชุม “เวที KICK OFF ธรรมนูญสุขภาพระดับเขต พื้นที่กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแมจิก 2 ชั้น 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 106 คน ครั้งที่ 2 : วันที่ 19 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2563” ณ ห้องประชุม ชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 3 : วันที่ 27 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 4/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 4 : วันที่ 4 พ.ย. 2563 จัดประชุม “รับฟังความคิดเห็นต่อร่างธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมราชเทวี โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 5 : วันที่ 6 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นประเด็นหาบเร่” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 6 : วันที่ 13 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 7 : วันที่ 25 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 8 : วันที่ 26 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “เวทีสมัชชาสุขภาพ กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น B2 อาคาร ไอราวัฒพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 200 คน ครั้งที่ 9 : วันที่ 14-15 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตในพื้นที่นำร่อง ๑๓ เขต กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแกรนด์ฮอล์ 2 โรงแรมรามาการ์เด้น ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 150 คน ครั้งที่ 10 : วันที่ 16-17 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุม ZOOM เวทีสมัชชาแห่งชาติ” ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 10 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 11 : วันที่ 21 ธ.ค. 2563 จัดประชุม “เลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ครั้งที่ 1 : วันที่ 15 ต.ค. 2563 จัดประชุม “เวที KICK OFF ธรรมนูญสุขภาพระดับเขต พื้นที่กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแมจิก 2 ชั้น 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 106 คน ครั้งที่ 2 : วันที่ 19 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2563” ณ ห้องประชุม ชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 3 : วันที่ 27 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 4/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 4 : วันที่ 4 พ.ย. 2563 จัดประชุม “รับฟังความคิดเห็นต่อร่างธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมราชเทวี โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 5 : วันที่ 6 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นประเด็นหาบเร่” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 6 : วันที่ 13 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 7 : วันที่ 25 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 8 : วันที่ 26 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “เวทีสมัชชาสุขภาพ กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น B2 อาคาร ไอราวัฒพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 200 คน ครั้งที่ 9 : วันที่ 14-15 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตในพื้นที่นำร่อง ๑๓ เขต กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแกรนด์ฮอล์ 2 โรงแรมรามาการ์เด้น ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 150 คน ครั้งที่ 10 : วันที่ 16-17 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุม ZOOM เวทีสมัชชาแห่งชาติ” ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 10 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 11 : วันที่ 21 ธ.ค. 2563 จัดประชุม “เลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 12 : วันที่ 20 ม.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2564” ณ ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 13 : วันที่ 28 ม.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 1/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 14 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตทวีวัฒนา” ณ สำนักงานเขตทวีวัฒนา โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขต หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม พร้อมเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข และ ทีมวิชาการ คณาจารย์จากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยร่วมกันออกแบบกลไก และข้อมูล ในการสังเคราะห์ยกร่าง และวางปฏิทินการทำงานการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ เพื่อขยายบทบาทและสร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนสุขภาวะ โดยผ่านกลไก คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) ครั้งที่ 15 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมแนวทางพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตบางบอน” ณ สำนักงานเขตบางบอนโดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตบางบอน เป็นประธาน ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตบางบอน หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สภาองค์กรชุมชนเขตบางบอน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกำหนดทิศทางและขับเคลื่อนงานธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ ระดับเขต พื้นที่นำร่อง 13 เขต ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 16 : วันที่ 19 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตสายไหม” ณ สำนักงานเขตสายไหม โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตสายไหม หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชนศูนย์บริการสาธารณสุข 61 สังวาลย์ ทัสนารมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และสภาองค์กรชุมชนเขตสายไหม เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาศักยภาพ กลไก คณะทำงานระดับเขตสู่ความเข้าใจร่วมในการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลบริบทต้นทุนทางสังคมของเขตสายไหม ด้านประชากร ด้านสุขภาพ และข้อมูลชุมชน โดยจะส่งผ่านข้อมูลพื้นฐานชุมชนให้ทาง มรภ.พระนคร จัดทำกลุ่มประเด็นจากฐานข้อมูลเบื้องต้น ก่อนจะร่วมกันเติมเต็มข้อมูลและออกแบบเพื่อพัฒนาเครื่องมือการขับเคลื่อนประเด็นต่อไป ครั้งที่ 17 : วันที่ 24 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตวังทองหลาง” ณ สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต ผู้ช่วย หัวหน้าฝ่าย พร้อมเจ้าหน้าเขตวังทองหลาง ผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานสภาองค์กรชุมชนเขตวังทองหลาง และคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เพื่อวางระบบและแผนงานการจัดการข้อมูล วิเคราะห์ทุนทางสังคม กลไก บทบาทในพื้นที่ เพื่อจัดทำและขับเคลื่อนงานการมีส่วนร่วม และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เชื่อมโยงกับ ทุนศักยภาพชุมชน สังเคราะห์ปัญหา และความต้องการชุมชน ครั้งที่ 18 : วันที่ 25 ก.พ. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฎ์ ศศะนาวิน สำนักอนามัย สำนักงานเขตภาษีเจริญ สถานีกาชาดที่ 11 (วิเศษนิยม) สภากาชาดไทย เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ Migrant Working Group พระนิสิตจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ลงพื้นที่เพื่อมอบชุดธารน้ำใจกู้ชีวิตฝ่าวิกฤตโควิด-19 และสื่อความรู้โควิด-19 ให้แก่ ผู้สัมผัสเสี่ยงสูงชาวเมียนมาที่ได้รับการกักกันตัวในสถานที่ควบคุมเป็นที่พักอาศัย (Home Quarantine) และแรงงานชาวเมียนมา ณ สถานประกอบการ ในพื้นที่เขตภาษีเจริญ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและพระนิสิตชาวเมียนมา ให้ความรู้ คำแนะนำและคำปรึกษา ทาง video call ในการป้องกันตนเองจากโควิด-19 รวมทั้งมอบแอลกอฮอล์เจล หน้ากากอนามัยแบบผ้า และสื่อความรู้ ครั้งที่ 19 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ระเบียบวาระว่าด้วยเรื่อง การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร หาบเร่แผงลอย และ ธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร และแนวทางการพัฒนานโยยายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม ในพื้นที่ กทม. ครั้งที่ 20 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะอำนวยการพัฒนาสุขภาวะเขตพื้นที่ กทม.” ณ อาคารสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้ตรวจราชการ กทม. รอง ผอ.สำนักพัฒนาสังคม หัวหน้าฝ่าย สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักอนามัย ผู้แทน กขป. สปสช. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ทั้ง 5 แห่ง เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการพื้นที่นำร่อง 13 เขต และหารือทิศทางและกลยุทธ์การจัดเวทีเสริมพลังในระดับ มหานคร ครั้งที่ 21 : วันที่ 11 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตดอนเมือง” ณ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมี หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ เป็นประธาน พร้อม ประธานชุมชน เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข คณาจารย์ มรภ.สวนสุนันทา และ ดร.สัญชัย สูติพันธ์วิหาร (กขป.กทม) ได้ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์ ประเด็น รวมไปถึงการวิเคราะห์ ผู้เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ เพื่อจัดเวทีคืนข้อมูลสู่การยกร่างธรรมนูญสุขภาพเขตดอนเมือง ในการนี้ให้ความสำคัญในกลไก พชข. และผู้นำ node ชุมชน 95 ชุมชน ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 23 เมษายน ถือเป็นเวทีที่ 3 สู่การแปลงข้อมูลสู่ร่างนโยบายสาธารณะระดับเขต ครั้งที่ 22 : วันที่ 11-12 มี.ค. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย ร่วมกับสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประชากรต่างด้าวในชุมชน ให้แก่ เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุขอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขตบางบอน บางแค บางขุนเทียน จอมทอง ภาษีเจริญ และหนองแขม ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ มหานาค โดยมี พญ.อริศรา ทัตตากร ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร เป็นประธานและบรรยายพิเศษ เรื่อง “สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร” ครั้งที่ 23 : วันที่ 19 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกพัฒนาขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตธนบุรี” ณ สำนักงานเขตธนบุรี โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานชุมชนระดับเขต (48 ชุมชน) ประธานสภาองค์กรชุมชน ประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เตรียมการวางแผนการจัดระบบข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ นำไปสู่เวที คืนข้อมูล Public Screening ในระดับเขตที่จะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้ ที่ ม.รภ.บ้านสมเด็จฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ครั้งที่ 1 : วันที่ 15 ต.ค. 2563 จัดกิจกรรม “เวที KICK OFF ธรรมนูญสุขภาพระดับเขต พื้นที่กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแมจิก 2 ชั้น 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 106 คน ครั้งที่ 2 : วันที่ 19 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2563” ณ ห้องประชุม ชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 3 : วันที่ 27 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 4/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 4 : วันที่ 4 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นต่อร่างธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร” ณ โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 5 : วันที่ 6 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นประเด็นหาบเร่” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 6 : วันที่ 13 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 7 : วันที่ 25 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 8 : วันที่ 26 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “เวทีสมัชชาสุขภาพ กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น B2 อาคารไอราวัฒพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้า ร่วมกิจกรรม 200 คน ครั้งที่ 9 : วันที่ 14 - 15 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญ สุขภาพเขตในพื้นที่นำร่อง ๑๓ เขต กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแกรนด์ฮอล์ 2 โรงแรมรามาการ์เด้น ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 150 คน ครั้งที่ 10 : วันที่ 16 - 17 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุม ZOOM เวทีสมัชชาแห่งชาติ” ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 10 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 11 : วันที่ 21 ธ.ค. 2563 จัดประชุม “เลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพ มหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 12 : วันที่ 20 ม.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 1/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 13 : วันที่ 28 ม.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 1/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 14 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตทวีวัฒนา” ณ สำนักงานเขตทวีวัฒนา โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขต หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม พร้อมเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข และทีมวิชาการ คณาจารย์จากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยร่วมกันออกแบบกลไกและข้อมูลที่จะใช้ในการสังเคราะห์ยกร่าง และวางปฏิทินการทำงานการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ เพื่อขยายบทบาทและสร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนสุขภาวะ โดยผ่านกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) ครั้งที่ 15 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมแนวทางพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตบางบอน” ณ สำนักงานเขตบางบอน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตบางบอน เป็นประธาน ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตบางบอน หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สภาองค์กรชุมชนเขตบางบอน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกำหนดทิศทางและขับเคลื่อนงานธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ระดับเขต พื้นที่นำร่อง 13 เขต ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 16 : วันที่ 19 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตสายไหม” ณ สำนักงานเขตสายไหม โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตสายไหม หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชนศูนย์บริการสาธารณสุข 61 สังวาลย์ ทัสนารมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และสภาองค์กรชุมชนเขตสายไหม เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาศักยภาพ กลไกคณะทำงานระดับเขต สู่ความเข้าใจร่วมในการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลบริบทต้นทุนทางสังคมของเขตสายไหม ด้านประชากร ด้านสุขภาพ และข้อมูลชุมชน โดยจะส่งผ่านข้อมูลพื้นฐานชุมชนให้ มรภ.พระนคร จัดทำกลุ่มประเด็นจากฐานข้อมูลเบื้องต้น ก่อนจะร่วมกันเติมเต็มข้อมูลและออกแบบเพื่อพัฒนาเครื่องมือการขับเคลื่อนประเด็นต่อไป ครั้งที่ 17 : วันที่ 24 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตวังทองหลาง” ณ สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตวังทองหลาง ผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานสภาองค์กรชุมชนเขตวังทองหลาง และคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เพื่อวางระบบและแผนงานการจัดการข้อมูล วิเคราะห์ทุนทางสังคม กลไก บทบาทในพื้นที่ เพื่อจัดทำและขับเคลื่อนงานการมีส่วนร่วม และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เชื่อมโยงกับทุนศักยภาพชุมชน สังเคราะห์ปัญหา และความต้องการชุมชน ครั้งที่ 18 : วันที่ 25 ก.พ. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฎ์ ศศะนาวิน สำนักงานเขตภาษีเจริญ สถานีกาชาดที่ 11 (วิเศษนิยม) สภากาชาดไทย เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ Migrant Working Group พระนิสิตจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และสถานี โทรทัศน์ไทยพีบีเอส ลงพื้นที่เพื่อมอบชุดธารน้ำใจกู้ชีวิตฝ่าวิกฤตโควิด - 19 และสื่อความรู้โควิด - 19 ให้แก่ ผู้สัมผัสเสี่ยงสูงชาวเมียนมาที่ได้รับการกักกันตัวในสถานที่ควบคุมเป็นที่พักอาศัย (Home Quarantine) และแรงงานชาวเมียนมา ณ สถานประกอบการ ในพื้นที่เขตภาษีเจริญ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและพระนิสิตชาวเมียนมา ให้ความรู้ คำแนะนำและคำปรึกษาทาง video call ในการป้องกันตนเองจากโควิด - 19 รวมทั้งมอบแอลกอฮอล์เจล หน้ากากอนามัย และสื่อความรู้ ครั้งที่ 19 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ระเบียบวาระว่าด้วยเรื่อง การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร หาบเร่แผงลอย ธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร และแนวทางการพัฒนานโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม ในพื้นที่ กทม. ครั้งที่ 20 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะอำนวยการพัฒนาสุขภาวะเขตพื้นที่ กทม.” ณ อาคารสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้ตรวจราชการ กทม. รอง ผอ.สำนักพัฒนาสังคม หัวหน้าฝ่าย สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักอนามัย ผู้แทน กขป. สปสช. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ทั้ง 5 แห่ง เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการพื้นที่นำร่อง 13 เขต และหารือทิศทางและกลยุทธ์การจัดเวทีเสริมพลังในระดับมหานคร ครั้งที่ 21 : วันที่ 11 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตดอนเมือง” ณ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมีหัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ เป็นประธาน พร้อมประธานชุมชน เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข คณาจารย์ มรภ.สวนสุนันทา และ ดร.สัญชัย สูติพันธ์วิหาร (กขป. กทม.) ได้ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์ ประเด็น รวมไปถึงการวิเคราะห์ ผู้เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ เพื่อจัดเวทีคืนข้อมูลสู่การยกร่างธรรมนูญสุขภาพเขตดอนเมือง ในการนี้ให้ความสำคัญในกลไก พชข. และผู้นำ node ชุมชน 95 ชุมชน ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 23 เมษายน ถือเป็นเวทีที่ 3 สู่การแปลงข้อมูลสู่ร่างนโยบายสาธารณะระดับเขต ครั้งที่ 22 : วันที่ 11 - 12 มี.ค. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย ร่วมกับสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประชากรต่างด้าวในชุมชน ให้แก่ เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขต บางบอน บางแค บางขุนเทียน จอมทอง ภาษีเจริญ และหนองแขม ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ มหานาค โดยมี พญ.อริศรา ทัตตากร ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย เป็นประธานและบรรยายพิเศษ เรื่อง “สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร” ครั้งที่ 23 : วันที่ 19 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกพัฒนาขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตธนบุรี” ณ สำนักงานเขตธนบุรีโดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานชุมชนระดับเขต (48 ชุมชน) ประธานสภาองค์กรชุมชน ประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เตรียมการวางแผนการจัดระบบข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ นำไปสู่เวที คืนข้อมูล Public Screening ในระดับเขตที่จะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้ ที่ มรภ.บ้านสมเด็จฯ ครั้งที่ 24 : วันที่ 19 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกพัฒนาขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตธนบุรี” ณ สำนักงานเขตธนบุรีโดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานชุมชนระดับเขต (48 ชุมชน) ประธานสภาองค์กรชุมชน ประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เตรียมการวางแผนการจัดระบบข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ นำไปสู่เวที คืนข้อมูล Public Screening ในระดับเขตที่จะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้ ที่ มรภ.บ้านสมเด็จฯ ครั้งที่ 25 : วันที่ 23 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะทำงานพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตทุ่งครุ” ณ สำนักงานเขตทุ่งครุ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ชมผู้สูงอายุ ประธานสภาองค์กรชุมชนเขต พร้อมด้วยประธานชุมชนแขวง รอง ผอ.สถาบันวิจัย มรภ.ธนบุรี ร่วมกันพิจารณาแผนและกรอบทิศทางการพัฒนาธรรมนูญฯ ของเขตทุ่งครุ ครั้งที่ 26 : วันที่ 30 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะอนุกรรมการบริหารและเตรียมความพร้อมกลุ่มเครือข่ายในการจัดสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2564” ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 15 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง กรุงเทพมหานคร โดยมีนายชวินทร์ ศิรินาค รองปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นประธาน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (สำนักอนามัย/สำนักพัฒนาสังคม/สำนักงานประชาสัมพันธ์/สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล), สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน ครั้งที่ 27 : วันที่ 29 เม.ย. 2564 “การประชุมคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขตพื้นที่ 13 ครั้งที่ 2/2564”ประชุมออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 28: วันที่ 30 เม.ย. 2564 “การประชุมคณะอนุกรรมการบริหารและเตรียมความพร้อมกลุ่มเครือข่ายในการจัดสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 3/2564” ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 15 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพ มหานคร ดินแดง กรุงเทพมหานคร และระบบออนไลน์ โปรแกรม ZOOM โดยมีนายชวินทร์ ศิรินาค รองปลัดกรุงเทพ-มหานคร เป็นประธาน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (สำนักอนามัย/สำนักพัฒนาสังคม/สำนักงานประชาสัมพันธ์/สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล), สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน ครั้งที่ 29: วันที่ 17 พ.ค. 2564 "ประชุมอนุกรรมการวิชาการสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 5/2564" ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร , สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ครั้งที่ 1 : วันที่ 15 ต.ค. 2563 จัดกิจกรรม “เวที KICK OFF ธรรมนูญสุขภาพระดับเขต พื้นที่กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแมจิก 2 ชั้น 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 106 คน ครั้งที่ 2 : วันที่ 19 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2563” ณ ห้องประชุม ชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 3 : วันที่ 27 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 4/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 4 : วันที่ 4 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นต่อร่างธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร” ณ โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 5 : วันที่ 6 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นประเด็นหาบเร่” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 6 : วันที่ 13 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 7 : วันที่ 25 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 8 : วันที่ 26 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “เวทีสมัชชาสุขภาพ กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น B2 อาคารไอราวัฒพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้า ร่วมกิจกรรม 200 คน ครั้งที่ 9 : วันที่ 14 - 15 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญ สุขภาพเขตในพื้นที่นำร่อง ๑๓ เขต กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแกรนด์ฮอล์ 2 โรงแรมรามาการ์เด้น ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 150 คน ครั้งที่ 10 : วันที่ 16 - 17 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุม ZOOM เวทีสมัชชาแห่งชาติ” ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 10 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 11 : วันที่ 21 ธ.ค. 2563 จัดประชุม “เลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพ มหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 12 : วันที่ 20 ม.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 1/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 13 : วันที่ 28 ม.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 1/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 14 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตทวีวัฒนา” ณ สำนักงานเขตทวีวัฒนา โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขต หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม พร้อมเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข และทีมวิชาการ คณาจารย์จากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยร่วมกันออกแบบกลไกและข้อมูลที่จะใช้ในการสังเคราะห์ยกร่าง และวางปฏิทินการทำงานการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ เพื่อขยายบทบาทและสร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนสุขภาวะ โดยผ่านกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) ครั้งที่ 15 : วันที่ 17 ก.พ. 2564 “การประชุมแนวทางพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตบางบอน” ณ สำนักงานเขตบางบอน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตบางบอน เป็นประธาน ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขตบางบอน หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สภาองค์กรชุมชนเขตบางบอน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกำหนดทิศทางและขับเคลื่อนงานธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ระดับเขต พื้นที่นำร่อง 13 เขต ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 16 : วันที่ 19 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตสายไหม” ณ สำนักงานเขตสายไหม โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตสายไหม หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชนศูนย์บริการสาธารณสุข 61 สังวาลย์ ทัสนารมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และสภาองค์กรชุมชนเขตสายไหม เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาศักยภาพ กลไกคณะทำงานระดับเขต สู่ความเข้าใจร่วมในการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลบริบทต้นทุนทางสังคมของเขตสายไหม ด้านประชากร ด้านสุขภาพ และข้อมูลชุมชน โดยจะส่งผ่านข้อมูลพื้นฐานชุมชนให้ มรภ.พระนคร จัดทำกลุ่มประเด็นจากฐานข้อมูลเบื้องต้น ก่อนจะร่วมกันเติมเต็มข้อมูลและออกแบบเพื่อพัฒนาเครื่องมือการขับเคลื่อนประเด็นต่อไป ครั้งที่ 17 : วันที่ 24 ก.พ. 2564 “การประชุมคณะทำงานธรรมนูญสุขภาพเขตวังทองหลาง” ณ สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตวังทองหลาง ผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานสภาองค์กรชุมชนเขตวังทองหลาง และคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เพื่อวางระบบและแผนงานการจัดการข้อมูล วิเคราะห์ทุนทางสังคม กลไก บทบาทในพื้นที่ เพื่อจัดทำและขับเคลื่อนงานการมีส่วนร่วม และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เชื่อมโยงกับทุนศักยภาพชุมชน สังเคราะห์ปัญหา และความต้องการชุมชน ครั้งที่ 18 : วันที่ 25 ก.พ. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฎ์ ศศะนาวิน สำนักงานเขตภาษีเจริญ สถานีกาชาดที่ 11 (วิเศษนิยม) สภากาชาดไทย เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ Migrant Working Group พระนิสิตจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และสถานี โทรทัศน์ไทยพีบีเอส ลงพื้นที่เพื่อมอบชุดธารน้ำใจกู้ชีวิตฝ่าวิกฤตโควิด - 19 และสื่อความรู้โควิด - 19 ให้แก่ ผู้สัมผัสเสี่ยงสูงชาวเมียนมาที่ได้รับการกักกันตัวในสถานที่ควบคุมเป็นที่พักอาศัย (Home Quarantine) และแรงงานชาวเมียนมา ณ สถานประกอบการ ในพื้นที่เขตภาษีเจริญ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและพระนิสิตชาวเมียนมา ให้ความรู้ คำแนะนำและคำปรึกษาทาง video call ในการป้องกันตนเองจากโควิด - 19 รวมทั้งมอบแอลกอฮอล์เจล หน้ากากอนามัย และสื่อความรู้ ครั้งที่ 19 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพ มหานคร ครั้งที่ 2/2564” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ระเบียบวาระว่าด้วยเรื่อง การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร หาบเร่แผงลอย ธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร และแนวทางการพัฒนานโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม ในพื้นที่ กทม. ครั้งที่ 20 : วันที่ 10 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะอำนวยการพัฒนาสุขภาวะเขตพื้นที่ กทม.” ณ อาคารสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้ตรวจราชการ กทม. รอง ผอ.สำนักพัฒนาสังคม หัวหน้าฝ่าย สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักอนามัย ผู้แทน กขป. สปสช. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ทั้ง 5 แห่ง เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการพื้นที่นำร่อง 13 เขต และหารือทิศทางและกลยุทธ์การจัดเวทีเสริมพลังในระดับมหานคร ครั้งที่ 21 : วันที่ 11 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตดอนเมือง” ณ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ สำนักงานเขตดอนเมือง โดยมีหัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ เป็นประธาน พร้อมประธานชุมชน เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข คณาจารย์ มรภ.สวนสุนันทา และ ดร.สัญชัย สูติพันธ์วิหาร (กขป. กทม.) ได้ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์ ประเด็น รวมไปถึงการวิเคราะห์ ผู้เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ เพื่อจัดเวทีคืนข้อมูลสู่การยกร่างธรรมนูญสุขภาพเขตดอนเมือง ในการนี้ให้ความสำคัญในกลไก พชข. และผู้นำ node ชุมชน 95 ชุมชน ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 23 เมษายน ถือเป็นเวทีที่ 3 สู่การแปลงข้อมูลสู่ร่างนโยบายสาธารณะระดับเขต ครั้งที่ 22 : วันที่ 11 - 12 มี.ค. 2564 กองสร้างเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย ร่วมกับสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประชากรต่างด้าวในชุมชน ให้แก่ เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขต บางบอน บางแค บางขุนเทียน จอมทอง ภาษีเจริญ และหนองแขม ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ มหานาค โดยมี พญ.อริศรา ทัตตากร ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย เป็นประธานและบรรยายพิเศษ เรื่อง “สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร” ครั้งที่ 23 : วันที่ 19 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกพัฒนาขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตธนบุรี” ณ สำนักงานเขตธนบุรีโดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานชุมชนระดับเขต (48 ชุมชน) ประธานสภาองค์กรชุมชน ประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เตรียมการวางแผนการจัดระบบข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ นำไปสู่เวที คืนข้อมูล Public Screening ในระดับเขตที่จะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้ ที่ มรภ.บ้านสมเด็จฯ ครั้งที่ 24 : วันที่ 19 มี.ค. 2564 “การประชุมกลไกพัฒนาขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตธนบุรี” ณ สำนักงานเขตธนบุรีโดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ประธานชุมชนระดับเขต (48 ชุมชน) ประธานสภาองค์กรชุมชน ประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เตรียมการวางแผนการจัดระบบข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ นำไปสู่เวที คืนข้อมูล Public Screening ในระดับเขตที่จะจัดขึ้นในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้ ที่ มรภ.บ้านสมเด็จฯ ครั้งที่ 25 : วันที่ 23 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะทำงานพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพระดับเขตทุ่งครุ” ณ สำนักงานเขตทุ่งครุ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขต หัวหน้าฝ่ายพัฒนาสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุข ชมผู้สูงอายุ ประธานสภาองค์กรชุมชนเขต พร้อมด้วยประธานชุมชนแขวง รอง ผอ.สถาบันวิจัย มรภ.ธนบุรี ร่วมกันพิจารณาแผนและกรอบทิศทางการพัฒนาธรรมนูญฯ ของเขตทุ่งครุ ครั้งที่ 26 : วันที่ 30 มี.ค. 2564 “การประชุมคณะอนุกรรมการบริหารและเตรียมความพร้อมกลุ่มเครือข่ายในการจัดสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2564” ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 15 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง กรุงเทพมหานคร โดยมีนายชวินทร์ ศิรินาค รองปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นประธาน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (สำนักอนามัย/สำนักพัฒนาสังคม/สำนักงานประชาสัมพันธ์/สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล), สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน ครั้งที่ 27 : วันที่ 29 เม.ย. 2564 “การประชุมคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขตพื้นที่ 13 ครั้งที่ 2/2564”ประชุมออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 28: วันที่ 30 เม.ย. 2564 “การประชุมคณะอนุกรรมการบริหารและเตรียมความพร้อมกลุ่มเครือข่ายในการจัดสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 3/2564” ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 15 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพ มหานคร ดินแดง กรุงเทพมหานคร และระบบออนไลน์ โปรแกรม ZOOM โดยมีนายชวินทร์ ศิรินาค รองปลัดกรุงเทพ-มหานคร เป็นประธาน โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (สำนักอนามัย/สำนักพัฒนาสังคม/สำนักงานประชาสัมพันธ์/สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล), สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน ครั้งที่ 29: วันที่ 17 พ.ค. 2564 "ประชุมอนุกรรมการวิชาการสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 5/2564" ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร , สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 25 คน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(23) ร้อยละของเครือข่ายความร่วมมือในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของเครือข่ายความร่วมมือในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 จากปีที่มา

เป้าหมาย :10.00

ผลงาน :12.09


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 จากปีที่มา)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
12.09

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างรออนุมัติโครงการฯ และขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- โครงการเครือข่ายความร่วมมือในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักอนามัย : ผู้อำนวยการสำนักอนามัย ได้อนุมัติโครงการฯ และอนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย ตามหนังสือกองเภสัชกรรมที่ กท 0710/927 ลงวันที่ 13 พ.ย. 63 และอยู่ระหว่างการติดตามการดำเนินงานของร้านยาภายใต้โครงการเครือข่ายฯ และร้านยาที่สมัครเข้าร่วมเป็นเครือข่ายฯในปีงบประมาณ 2564 - โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ : ผู้อำนวยการสำนักอนามัย ได้อนุมัติโครงการฯ และอนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย ตามหนังสือกองเภสัชกรรมที่ กท 0710/67 ลงวันที่ 26 ม.ค. 64 และอยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุขในการดำเนินงานการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- โครงการเครือข่ายความร่วมมือในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักอนามัย : ปีงบประมาณ 2564 มีร้านยาภายใต้โครงการเครือข่ายฯ ปิดกิจการ จำนวนทั้งสิ้น 3 ร้าน คงเหลือร้านยาภายใต้โครงการเครือข่ายฯ เดิมทั้งสิ้น 77 ร้าน และมีร้านยาสมัครเข้าร่วมเป็นร้านยาภายใต้โครงการเครือข่ายฯ ใหม่ จำนวนทั้งสิ้น 15 ร้าน รวมมีร้านยาที่ต้องติดตามและประเมินผลการดำเนินงานทั้งสิ้น 92 ร้าน โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างการติดตามผลการดำเนินงานของร้านยาเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการเครือข่ายฯ เพื่อประเมินและรับรองร้านยาต่อไป - โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ : อยู่ระหว่างติดตามผลการดำเนินกิจกรรมด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ของศูนย์บริการสาธารณสุข

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- โครงการเครือข่ายความร่วมมือในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักอนามัย: มติที่ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายความร่วมมือในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักอนามัย ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันศุกร์ที่ 23 กรกฎาคม 2564 รับรองร้านยาเข้าร่วมเป็นร้านยาภายใต้โครงการเครือข่ายฯ จำนวนทั้งสิ้น 91 ร้าน คิดเป็นมีเครือข่ายฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.09 จากปีที่ผ่านมา (เป้าหมาย : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 จากปีที่ผ่านมา) - โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ: ร้อยละ 100 ของศูนย์บริการสาธารณสุข มีการดำเนินกิจกรรมด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตามที่กองเภสัชกรรมกำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(24) ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้รับบริการในคลินิกครอบครัวอบอุ่น จำนวน 973 คน พบกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าจำนวน 23 คน กลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล พฤศจิกายน 2563)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้รับบริการในคลินิกครอบครัวอบอุ่น จำนวน 2003 คน พบกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าจำนวน 67 คน กลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล กุมภาพันธ์ 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้รับบริการในคลินิกครอบครัวอบอุ่น จำนวน 3761 คน พบกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าจำนวน 95 คน กลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล จำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล พฤษภาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้รับบริการในคลินิกครอบครัวอบอุ่น จำนวน 4416 คน พบกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าจำนวน 174 คน กลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล จำนวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล สิงหาคม 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(25) ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

หน่วยนับ :ราย

เป้าหมาย :215,000.00

ผลงาน :42,149.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ราย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
20,180.00

0 / 0
3
31,821.00

0 / 0
4
42,149.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 20,180 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 31,821 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 42,149 คน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(26) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :36.00

ผลงาน :28.19


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
20.30

0 / 0
3
23.66

0 / 0
4
28.19

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ (HbA1c) ครั้งสุดท้ายน้อยกว่า 7 % จำนวน 3,960 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน จำนวน 19,529 คน คิดเป็นร้อยละ 20.3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ (HbA1c) ครั้งสุดท้ายน้อยกว่า 7 % จำนวน 4,620 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน จำนวน 19,529 คน คิดเป็นร้อยละ 23.66

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ (HbA1c) ครั้งสุดท้ายน้อยกว่า 7 % จำนวน 5,505 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน จำนวน 19,529 คน คิดเป็นร้อยละ 28.19

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(27) ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :36.00

ผลงาน :44.99


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
29.10

0 / 0
3
40.35

0 / 0
4
44.99

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับค่าความดันโลหิต 2 ครั้ง สุดท้ายน้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท จำนวน 6,059 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน 20,824 คน คิดเป็นร้อยละ 29.1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับค่าความดันโลหิต 2 ครั้ง สุดท้ายน้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท จำนวน 8,403 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน 20,824 คน คิดเป็นร้อยละ 40.35

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับค่าความดันโลหิต 2 ครั้ง สุดท้ายน้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท จำนวน 9,368 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน 20,824 คน คิดเป็นร้อยละ 44.99

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(28) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :65.23


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
40.80

0 / 0
3
53.90

0 / 0
4
65.23

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน 40,353 คน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) จำนวน 16,464 คน คิดเป็นร้อยละ 40.8

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน 40,353 คน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) จำนวน 21,752 คน คิดเป็นร้อยละ 53.90

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน 40,353 คน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) จำนวน 26,321 คน คิดเป็นร้อยละ 65.23

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(29) ร้อยละของเจ้าของ/ผู้ดูแลสถานประกอบการได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของเจ้าของ/ผู้ดูแลสถานประกอบการได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :98.90


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
98.90

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์สนับสนุนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์สนับสนุนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.จัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์สนับสนุนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน 2.สำนักงานเขตตรวจสอบและรายงานผลการตรวจแนะนำกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพกลุ่มกิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต์ หรือวัตถุที่คล้ายคลึง ตามแบบฟอร์มที่กำหนด มายังสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

การดำเนินงานส่งเสริมความรู้ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานให้กับเจ้าของหรือผู้ดูแลกิจการ หิน ดิน ทราย ซีเมนต์ หรือวัตถุคล้ายคลึง ในพื้นที่ 50 สำนักงานเขต จำนวน 95 แห่ง พบว่า ถูกสุขลักษณะ จำนวน 94 แห่ง (ร้อยละ 98.9) ได้รับคำแนะนำให้ปรับปรุงแก้ไข จำนวน 1 แห่ง (ร้อยละ 1.1) และได้แนะนำเพิ่มเติมในประเด็น 1.ความปลอดภัยของเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์ 2.การจัดการมลพิษทางอากาศและมลพิษทางเสียง และ 3.การป้องกันเหตุรำคาญกับชุมชนรอบข้าง ประชาสัมพันธ์โดยใช้สื่อโปสเตอร์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านช่องทาง Online ต่างๆ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(30) ร้อยละของห้องน้ำสาธารณะในกลุ่มเป้าหมายที่มีสุขลักษะเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของห้องน้ำสาธารณะในกลุ่มเป้าหมายที่มีสุขลักษะเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. สรรหาและประสานผู้รับจ้างเหมาจัดทำสื่อรณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธี 2. แต่งตั้งคณะกรรมการจ้างเหมาจัดทำสื่อรณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ประสานสำนักงานเขตและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสรรหาห้องน้ำสาธารณะเข้าร่วมการประกวดสุดยอดห้องน้ำแห่งปีของกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ประสานสำนักงานเขต เพื่อจัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์ส่งเสริมพฤติกรรมการใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธี ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ให้สถานที่กลุ่มเป้าหมาย 12 กลุ่มเป้าหมาย 2. ผู้อำนวยการสำนักอนามัย ได้อนุมัติงดการจัดกิจกรรมการประกวดสุดยอดห้องน้ำแห่งปีของกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2564 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2564 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ทำให้เจ้าหน้าที่มีภารกิจต้องดำเนินการมากมาย ประกอบกับสถานที่กลุ่มเป้าหมายได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผู้อำนวยการสำนักอนามัยได้อนุมัติงดการตรวจประเมินสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในสถานที่กลุ่มเป้าหมายประจำปี 2564 แล้ว เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2564 เนื่องจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19) ดังนั้น การดำเนินการตามตัวชี้วัดที่กำหนดตามกิจกรรมดังกล่าวจึงไม่สามารถดำเนินการได้ แต่อย่างไรก็ตามได้ประสานสำนักงานเขตรณรงค์เผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะแล้ว งบประมาณที่ได้รับในกิจกรรม จำนวน 472,550 บาท งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน 199,800 บาท และคืนงบประมาณ จำนวน 272,750 บาท

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(31) ร้อยละของศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุครบวงจร (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุครบวงจร (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :40.00

ผลงาน :72.46


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
43.48

0 / 0
3
72.46

0 / 0
4
72.46

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุครบวงจร จำนวน 30 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 43.48

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุครบวงจร จำนวน 50 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 72.46

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุครบวงจร จำนวน 50 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 72.46

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(32) ร้อยละของชายมีเพศสัมพันธ์กับชายเข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกันเอดส์ (กอพ.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
ร้อยละของชายมีเพศสัมพันธ์กับชายเข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกันเอดส์ (กอพ.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :92.63


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
4.90

100 / 100
2
50.20

0 / 0
3
63.70

0 / 0
4
92.63

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2564 จำนวน 33,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 1,617 คน คิดเป็นร้อยละ 4.90

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2564 จำนวน 33,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 16,564 คน คิดเป็นร้อยละ 50.20

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2564 จำนวน 33,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 21,027 คน คิดเป็นร้อยละ 63.7

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2564 จำนวน 33,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 30,568 คน คิดเป็นร้อยละ 92.63

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(33) ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มารับบริการ ณ ศุนย์บริการสาธารณสุขได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (ผลลัพธ์) (กอพ.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มารับบริการ ณ ศุนย์บริการสาธารณสุขได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (ผลลัพธ์) (กอพ.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :97.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 22 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 102 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 102 คน คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 191 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 191 คน คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 259 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 259 คน คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(34) ร้อยละผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรค (ผู้ป่วยวัณโรคปอด/นอกปอดรายใหม่/กลับเป็นว้ำทั้งเสมหะพบเชื้อและไม่พบเชื้อ (ผลลัพธ์) (กอพ.)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
ร้อยละผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรค (ผู้ป่วยวัณโรคปอด/นอกปอดรายใหม่/กลับเป็นว้ำทั้งเสมหะพบเชื้อและไม่พบเชื้อ (ผลลัพธ์) (กอพ.)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :89.00

ผลงาน :90.27


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
85.91

100 / 100
2
89.02

0 / 0
3
89.70

0 / 0
4
90.27

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1/2563 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 149 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 128 คน คิดเป็นร้อยละ 85.91

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1-2/2563 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 337 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 300 คน คิดเป็นร้อยละ 89.02

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1-3/2563 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 495 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 444 คน คิดเป็นร้อยละ 89.70

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 2563 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 648 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 585 คน คิดเป็นร้อยละ 90.27

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(35) อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :20.51


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
11.83

0 / 0
3
15.10

0 / 0
4
20.51

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการสำรวจค่า CI HI ตามแผน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนผู้ป่วย x 100,000 / ประชากรปี 2563 661 x 100,000 / 5,588,222 = 11.83 ไม่เกินเปอร์เซนไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง (<298.56)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนผู้ป่วย x 100,000 / ประชากรปี 2563 844 x 100,000 / 5,588,222 = 15.10 ไม่เกินเปอร์เซนไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง (<298.56)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนผู้ป่วย x 100,000 / ประชากรปี 2563 1146 x 100,000 / 5,588,222 = 20.51 ไม่เกินเปอร์เซนไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง (<298.56)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(36) ร้อยละความสำเร็จของผู้ติดเชื้อโควิด-19 ได้รับการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
ร้อยละความสำเร็จของผู้ติดเชื้อโควิด-19 ได้รับการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
79.34

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการรับแจ้งข่าวและลงสอบสวนโรค COVID-19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานสอบสวนโรคดำเนินการเรียบร้อยแล้ว x 100 / ยอดทั้งหมดของรายงานสอบสวนโรค 845x100/1,065 = 79.34

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการตามกระบวนการ ดังนี้- รับแจ้งข้อมูลผู้ป่วย ผู้สัมผัส - ติดตามข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ - จัดทำฐานข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยผู้สัมผัส - จัดทำรายงานสถานการณ์ - ปฏิบัติการสอบสวนโรคในพื้นที่ - จัดทำรายงานสอบสวนโรค - ติดตามการสอบสวนโรคและรายงานสอบสวนโรคของศูนย์บริการสาธารณสุข กลุ่มผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการแพร่ระบาดในลักษณะกลุ่มก้อน (Cluster) ตามที่นำเสนอต่อที่ประชุม ศบค.กทม. ได้รับการสอบสวนและควบคุมโรคเบื้องต้น จำนวน 220 Cluster

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

กลุ่มผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการแพร่ระบาดในลักษณะกลุ่มก้อน (Cluster) 220 x 100/220 = 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(37) ร้อยละของการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
ร้อยละของการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย (ผลผลิต)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :75.00

ผลงาน :62.55


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
62.55

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

วางแผนการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ประชุมวางแผนการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

กระจายวัคซีนให้ศบส. และศบส.กำลังให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่แก่กลุ่มเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ให้บริการฉีดวัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมาย และสรุปผลการดำเนินงาน วัคซีนที่ได้รับสนับสนุนฟรีจำนวน 85714 ขวด กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีนจำนวน 53613 คน (53613×100÷85714=62.55)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(38) ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาล (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาล (ผลผลิต)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :94.12


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
94.12

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

วางแผนการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างขออนุมัติยกเลิกโครงการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด19 ระลอกใหม่ยังพบผู้ป่วยสูงขึ้นเรื่อยๆ และตั้งแต่ต้นเดือนมีนาคม2564 พบการระบาดเป็นกลุ้มก้อนในพื้นที่เขตบางแค บางขุนเทียน เจ้าหน้าของกองควบคุมโรคติดต่อ รวมถึงพยาบาล นักวิชาการสาธารณสุขของศูนย์บริการสาธารณสุขซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ต้องระดมสรรพกำลังในการควบคุมโรคโควิดไม่ให้ระบาดในวงกว่้าง ประกอบกับต้องระดมกำลังให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิดให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ทันเวลาตามนโยบายของรัฐบาล ด้วยเงื่อนไขและเงื่อนเวลาดังกล่าว กองควบคุมโรคติดต่อพิจารณาว่า กลุ่มเป้าหมายไม่สามารถที่จะเข้าร่วมประชุมตามแผนปฏิบัติงานที่โครงการกำหนดจึงได้ทำหนังสือเรียนผู้อำนวยการสำนักอนามัย เพื่อขออนุมัติยกเลิกโครงการ หมายเหตุ โครงการนี้ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณประจำปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ยกเลิกโครงการที่สนับสนุนตัวชี้วัด แต่ได้นำกิจกรรมที่เป็นงานประจำคือประชุมเชิงปฏิบัติการการเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษามาทดแทน โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นเจ้าหน้าที่จากสำนักงานเขต ศูนย์บริการสาธารณสุข หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ประชุมเชิงปฏิบัติการการเฝ้าระวังควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษาในวันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2563 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ดินแดง วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคระบบทางเดินหายใจในสถานศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน และสถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน และเพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันและลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องจากกลุ่มเขตทั้ง 6 กลุ่ม พยาบาลศูนย์บริการสาธารณสุขจากทั้ง 6 กลุ่มเขต สำนักการศึกษา สำนักงานสิ่งแวดล้อม และเจ้าหน้าที่กองควบคุมโรคติดต่อ กลุ่มเป้าหมายจำนวน 34 คน ผลการดำเนินงาน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาลตามเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 94.12 (จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 34 คน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาลตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 32 คน =32*100/34=94.12%)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(39) จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลผลิต)

หน่วยนับ :ราย

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ราย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 6,967 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน1,717 ตัว แมว จำนวน5,248 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 2 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 64 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 55,544 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 23,258 ตัว แมว จำนวน 31,956 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 230 ตัว อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 สามารถดำเนินการได้ จำนวนทั้งสิ้น 89,481 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 39,184 ตัว แมวจำนวน 50,013 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 284 ตัว อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 สามารถดำเนินการได้ จำนวนทั้งสิ้น 101,201 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 44,322 ตัว แมวจำนวน 56,594 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 285 ตัว อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า.../

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(40) จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ
จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA)

หน่วยนับ :ศูนย์บริการสาธารณสุข

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :2.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ศูนย์บริการสาธารณสุข)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
2.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กองการพยาบาลสาธารณสุข ได้รับอนุมัติโครงการ การพัฒนา ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยดำเนินการเสนอโครงการ เพื่อของบประมาณ และอยู่ระหว่างการดำเนินการรวบรวมรายชื่อแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการจ้างที่ปรึกษา เพื่อเตรียมดำเนินการลงนามสัญญาจ้างที่ปรึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เนื่องจากอยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อยู่ระหว่างการลงนามสัญญาการจ้างที่ปรึกษา และอยู่ระหว่างขั้นตอนการประสานงานศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อเข้าสู่กระบวนการพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขให้ผ่านการรับรองจากองค์กรภายนอก

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างการดำเนินตรวจเยี่ยมให้การประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.) เนื่องจากอยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ ทำให้ลงตรวจในภาคพื้นที่ได้ยากลำบาก

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข (Accreditation) จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข 21 วัดธาตุทอง (28 ตุลาคม 2563 - 27 ตุลาคม 2565) และศูนย์บริการสาธารณสุข 50 บึงกุ่ม (23 มิถุนายน 2564 - 22 มิถุนายน 2565) จากศูนย์บริการสาธารณสุขที่เข้าร่วมทั้งหมด 15 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 13.33 เนื่องจากอยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ศูนย์บริการสาธารณสุขมีภารกิจในการควบคุมและป้องกันโรคอย่าง ต่อเนื่อง อีกทั้งการเข้าตรวจประเมินในภาคพื้นที่ มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ ทำให้การลงตรวจในภาคพื้นที่ได้ยากลำบาก หรือลงพื้นที่ไม่ได้ จึงดำเนินการขอขยายสัญญาจ้างที่ปรึกษา (TOR) เพื่อดำเนินการพัฒนา ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข โดยขยายสัญญาเพิ่มอีกเป็นระยะเวลา 6 เดือน (ถึงวันที่ 27 มีนาคม 2565)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(41) มีผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุขสำนักอนามัย
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ
มีผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุขสำนักอนามัย

หน่วยนับ :อย่างน้อย 20 เรื่อง

เป้าหมาย :20.00

ผลงาน :29.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(อย่างน้อย 20 เรื่อง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
29.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ขออนุมัติโครงการ แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2564 2. จัดเตรียมเอกสารประกอบการขออนุมัติเงินประจำงวด 3. ประชาสัมพันธ์การส่งผลงานเข้าร่วมโครงการนวัตกรรทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2564 4. จัดเตรียมเอกสารเกี่ยวกับการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในโครงการฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดทำคำสั่งคณะกรรมการจัดงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย 2. จัดกิจกรรมที่ 1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3. จัดเตรียมการประชุมคณะกรรมการจัดงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. รวบรวมผลงานนวัตกรรมที่ส่งมาประกวด 2. จัดทำคำสั่งคณะกรรมการตัดสินผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย 3. จัดทำรูปเล่มผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. วางแผนกำหนดการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเปิดโครงการการประกวดและตัดสินผลงานการประชาสัมพันธ์ส่งผลงาน 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานฯ 3. ประชุมคณะกรรมการ เพื่อกำหนดรูปแบบการจัดงาน และการจัดสถานที่จัดงาน 4. กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเปิดโครงการ 5. รวบรวมผลงานที่ส่งเข้าประกวด เพื่อเสนอคณะกรรมการตัดสินผลงาน 6. ทำหนังสือที่ กท.0702/1350 ลงวันที่ 24 มิถุนายน 2564 เรื่อง ขออนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมที่ 2 และ 3 7. มีการรวบรวมแบบเสนอผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข จำนวน 29 ผลงาน ดังนี้ 1 ประเภท กระบวนการ (Process) มีผลงาน 16 ผลงาน ได้แก่ 1) การพัฒนาระบบการจัดการวัสดุและอุปรณ์ทางการแพทย์ผ่านทางเว็บไซต์ www.fa - equipment.com 2) การพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานและระบบการรายงานผลด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและเรื่องที่เกี่ยวข้องของกรุงเทพมหานคร 3) สื่อสารไร้สาย รับผลฉับไว 4) ทันตกรรมปลอดภัยสู้โควิด 5) โปรแกรมเพื่อนช่วยเตือน (Material Control For Health Center) 6) การประยุกต์สร้างเครื่องบรรจุยาแชมพู 7) ต้นแบบโรงเรียนผู้สูงอายุกับการพัฒนาที่ยั่งยืน 8) Calender for care 9) คูหาบ้วนน้ำลายเพื่อตรวจหาเชื้อโควิด-19 แบบถอดประกอบได้ 10) โดมคลุมช่องปากลดการฟุ้งกระจายในงานทันตกรรม 11) รวมผลงานนวัตกรรม ชุดการดูแลเท้าเบาหวาน 12) โมเดลบาดแผล สื่อการสอนจากวัสดุเหลือใช้ 13) หลับสบาย สไตล์ไทยเฮิร์บ 14) การส่งเสริมพัฒนาศักยภาพในผู้สูงอายุที่มีภาวะบกพร่องใน ระยะต้น เพื่อป้องกันหลงลืมและกันล้ม 15) LINE ฟ.ฟัน ตรวจนัดครบจบทีเดียว 16) กายภาพบำบัดทางไกล Tele (re) hap 2 ประเภท สิ่งประดิษฐ์ (Product) มีผลงาน 13 ผลงาน ได้แก่ 1) อย่าลืมฉัน (forget me not) 2) โปรแกรมลงทะเบียนและตรวจสอบสิทธิ์ผู้มารับบริการด้วยบัตรประชาชน 3) แผ่นปิดวัดสายตา Disposible 4) กุญแจล็อคตู้เย็นวัคซีนปิดสนิท ศบส.34 โพธิ์ศรี 5) สบายกาย สไตล์กายภาพ 6) Kidney Pharma Care : Application แนวทางการปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) 7) วงล้อชวนคิด กราฟชีวิตลิขิตไต 8) พลิกตัวฉับไว ไร้ผลกดทับ 9) ปีศาจแสนกล เปลี่ยนคน เปลี่ยนใจ 10) ขนาดนั้น สำคัญไฉน 11) ขวดปรับยาในผู้ป่วยไต 12) ข้อ (เท้า) ติดจ๋าลาก่อน 13) ภูเขาวัดใจ สู้ภัยบุหรี่

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(42) ร้อยละของจำนวนเขตที่จัดให้มีระบบสุขภาพปฐมภูมิ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ
ร้อยละของจำนวนเขตที่จัดให้มีระบบสุขภาพปฐมภูมิ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :58.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาบริการสุขภาพปฐมภูมิของสำนักอนามัย ครั้งที่ 1 วันที่ 24 ธันวามคม 2563 มอบหมายให้ทุก ศบส.69 แห่ง เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เพื่อให้เป็นไปตาม พรบ.ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 และมอบประธานกลุ่มศูนย์บริการสาธารรสุข สำรวจแพทย์ประจำของศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ยังไม่ผ่านการอบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาบริการสุขภาพปฐมภูมิของสำนักอนามัย ครั้งที่ 1 วันที่ 24 ธันวามคม 2563 มอบหมายให้ทุก ศบส.69 แห่ง เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เพื่อให้เป็นไปตาม พรบ.ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 และมอบประธานกลุ่มศูนย์บริการสาธารรสุข สำรวจแพทย์ประจำของศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ยังไม่ผ่านการอบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาบริการสุขภาพปฐมภูมิของสำนักอนามัย ครั้งที่ 1 วันที่ 24 ธันวามคม 2563 มอบหมายให้ทุก ศบส.69 แห่ง เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เพื่อให้เป็นไปตาม พรบ.ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 และมอบประธานกลุ่มศูนย์บริการสาธารรสุข สำรวจแพทย์ประจำของศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ยังไม่ผ่านการอบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ในปีงบประมาณพ.ศ2564 มีเขตที่เข้าร่วม 50 เขต ดำเนินการได้ครบทั้ง 50 เขต ดำเนินได้เกินเป้าหมายที่กำหนดไว้ซึ่งกำหนดไว้ 29 เขต

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(43) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร(ผลลัพธ์)ร้อยละของสถานประกอบอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดีฯ (Green Service)(ผลลัพธ์)(ตัวชี้วัดบูรณาการ)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร(ผลลัพธ์)ร้อยละของสถานประกอบอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดีฯ (Green Service)(ผลลัพธ์)(ตัวชี้วัดบูรณาการ)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.92

100 / 100
2
35.45

0 / 0
3
65.98

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (เป้าหมายร้อยละ 100) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2563 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 791 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 20,193 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.92 (ป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีอายุการรับรอง 1 ปี) - ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต (เป้าหมายร้อยละ 70) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2563 สถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาตทั้งหมด 812 ราย ได้รับการตรวจคุณภาพอาหาร จำนวน 482 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.36 - ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) (เป้าหมายร้อยละ 20) อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจแนะนำสถานประกอบการอาหารให้มีการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมากหรือดีเยี่ยม ซึ่งสถานประกอบการอาหารต้องจัดให้มีการจัดบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) -//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (เป้าหมายร้อยละ 100) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 25 มีนาคม 2564 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 7,218 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 20,360 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.45 (ป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีอายุการรับรอง 1 ปี) - ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต (เป้าหมายร้อยละ 70) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 25 มีนาคม 2564 สถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาตทั้งหมด 1,082 ราย ได้รับการตรวจคุณภาพอาหาร จำนวน 894 ราย คิดเป็นร้อยละ 82.62 - ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) (เป้าหมายร้อยละ 20) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 25 มีนาคม 2564 มีสถานประกอบการอาหารที่ผ่านการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) (ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก/ระดับเลิศ) จำนวน 2,612 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.83 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด-//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (เป้าหมายร้อยละ 100) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 24 มิถุนายน 2564 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 13,577 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 20,579 ราย คิดเป็นร้อยละ 65.98 (ป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีอายุการรับรอง 1 ปี) - ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต (เป้าหมายร้อยละ 70) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 24 มิถุนายน 2564 สถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาตทั้งหมด 1,106 ราย ได้รับการตรวจคุณภาพอาหาร จำนวน 1,025 ราย คิดเป็นร้อยละ 92.68 - ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) (เป้าหมายร้อยละ 20) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 24 มิถุนายน 2564 มีสถานประกอบการอาหารที่ผ่านการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) (ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก/ระดับเลิศ) จำนวน 5,432 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.40 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด-//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (เป้าหมายร้อยละ 100) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 19,260 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 20,166 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.507 มีสถานประกอบการที่ปิดกิจการชั่วคราวจำนวน 906 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.493 ของจำนวนทั้งหมด ผลการดำเนินการร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี เมื่อตัดจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ปิดกิจการชั่วคราวฯ คิดเป็นร้อยละ 100 (ป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีอายุการรับรอง 1 ปี) - ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต (เป้าหมายร้อยละ 70) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 สถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาตทั้งหมด 1,179 ราย ได้รับการตรวจคุณภาพอาหาร จำนวน 1,124 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.335 - ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) (เป้าหมายร้อยละ 20) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2564 มีสถานประกอบการอาหารที่ผ่านการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี และมีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) (ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก/ระดับเลิศ) จำนวน 8,683 ราย คิดเป็นร้อยละ 43.058 ของจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด -//-

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(44) ร้อยละตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ร้อยละตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้น หาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ ตรวจหา สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู ยาฆ่าแมลง และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหาร โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม 2563 มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 12,907 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 12,907 ตัวอย่าง (ร้อยละ 100)-//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ ซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาด และร้านอาหาร ตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้น หาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ ตรวจหาสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู ยาฆ่าแมลง และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 - เดือนกุมภาพันธ์ 2564 มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 31,331 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 31,331 ตัวอย่าง (ร้อยละ 100)-//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ ซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาด และร้านอาหาร ตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้น หาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ ตรวจหาสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู ยาฆ่าแมลง และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 - เดือนพฤษภาคม 2564 มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 67,582 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 67,582 ตัวอย่าง (ร้อยละ 100)-//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ ซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาด และร้านอาหาร ตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้น หาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ ตรวจหาสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู ยาฆ่าแมลง และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 - เดือนสิงหาคม 2564 มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 81,906 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 81,906 ตัวอย่าง (ร้อยละ 100)-//-

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(45) ร้อยละตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ร้อยละตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :95.00

ผลงาน :98.53


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
98.84

0 / 0
3
98.53

0 / 0
4
98.53

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการยื่นซองประกวดราคาจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการจัดทำแผน กำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ และขออนุมัติงบประมาณเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างการประกาศเชิญชวนลงเว็ปไซต์ของกรมบัญชีกลาง และยื่นซองประกวดราคาจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร-//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ ซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาด และร้านอาหาร ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564 – 19 มีนาคม 2564 โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 258 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 255 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 98.84 -//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ ซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาด และร้านอาหาร ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564 – 14 พฤษภาคม 2564 โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 1,831 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 1,804 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 98.53-//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี มินิมาร์ท/ร้านขายของชำ ซูเปอร์มาร์เก็ต ตลาด และร้านอาหาร ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholera โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564 – 20 สิงหาคม 2564 โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 2,850 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 2,808 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 98.53-//-

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(46) ร้อยละของผู้บริโภคได้รับการพิทักษ์สิทธิ์ในการเลือกซื้อกระเช้าของขวัญช่วงเทศกาลปีใหม่ (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ร้อยละของผู้บริโภคได้รับการพิทักษ์สิทธิ์ในการเลือกซื้อกระเช้าของขวัญช่วงเทศกาลปีใหม่ (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการสุ่มตรวจกระเช้าของขวัญปีใหม่ตามหลักเกณฑ์ของกรุงเทพมหานคร ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต อยู่ระหว่างดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการที่จำหน่ายกระเช้าของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่ ปี พ.ศ. 2564 ที่เข้าร่วมโครงการควบคุมคุณภาพสินค้าของกรุงเทพมหานคร ในระหว่างวันที่ 8 ธันวาคม 2563 - 28 กุมภาพันธ์ 2564 กรณีที่ผู้บริโภคไม่พึงพอใจในคุณภาพของสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่สามารถนำมาแลกเปลี่ยนหรือคืนได้ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 -//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการที่จำหน่ายกระเช้าของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่ ปี พ.ศ. 2564 ที่เข้าร่วมโครงการควบคุมคุณภาพสินค้าของกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2563 – 15 มีนาคม 2564 กรณีที่ผู้บริโภคไม่พึงพอใจในคุณภาพของสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่สามารถนำมาแลกเปลี่ยนหรือคืนได้ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 โดยผลดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการ จำนวนทั้งหมด 549 แห่ง จาก 50 สำนักงานเขต ไม่พบว่ามีการร้องเรียน หรือมีการนำสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่มาแลกเปลี่ยน/คืน -//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการที่จำหน่ายกระเช้าของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่ ปี พ.ศ. 2564 ที่เข้าร่วมโครงการควบคุมคุณภาพสินค้าของกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2563 – 15 มีนาคม 2564 กรณีที่ผู้บริโภคไม่พึงพอใจในคุณภาพของสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่สามารถนำมาแลกเปลี่ยนหรือคืนได้ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 โดยผลดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการ จำนวนทั้งหมด 549 แห่ง จาก 50 สำนักงานเขต ไม่พบว่ามีการร้องเรียน หรือมีการนำสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่มาแลกเปลี่ยน/คืน -//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการที่จำหน่ายกระเช้าของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่ ปี พ.ศ. 2564 ที่เข้าร่วมโครงการควบคุมคุณภาพสินค้าของกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2563 – 15 มีนาคม 2564 กรณีที่ผู้บริโภคไม่พึงพอใจในคุณภาพของสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่สามารถนำมาแลกเปลี่ยนหรือคืนได้ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 โดยผลดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการ จำนวนทั้งหมด 549 แห่ง จาก 50 สำนักงานเขต ไม่พบว่ามีการร้องเรียน หรือมีการนำสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่มาแลกเปลี่ยน/คืน -//-

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(47) ร้อยละของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขาภิบาลอาหารผ่านการประเมินความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ร้อยละของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขาภิบาลอาหารผ่านการประเมินความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร (ผลผลิต)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :89.83


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
89.83

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารของกรุงเทพมหานคร ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหารสังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต และกองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 198 คน จัดกิจกรรมฯ เป็นรายกลุ่มเขต จำนวน 6 กลุ่มเขต กลุ่มเขตละ 1 ครั้งๆ ละ 1 วัน กำหนดการฝึกอบรมเดือนมีนาคม 2564 การดำเนินการฝึกอบรม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการดำเนินการ และขั้นตอนการประเมินผลและรายงาน ซึ่งขณะนี้ผลการดำเนินงานอยู่ระหว่างขั้นตอนที่ 1 ได้แก่ การดำเนินการจัดทำหลักสูตร กำหนดการฝึกอบรม กำหนดคุณสมบัติของผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ รวมไปถึงการจัดทำแผนการดำเนินกิจกรรมฯ - จัดฝึกอบรมหลักสูตรวิชาการด้านสุขาภิบาลอาหาร โดยมีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 126 คน ประกอบด้วยข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญประเภทวิชาการ ตำแหน่งนักวิชาการสุขาภิบาล ระดับปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ และประเภททั่วไป ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข ระดับปฏิบัติงาน-ชำนาญงาน สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และกองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย การดำเนินการฝึกอบรม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการดำเนินการ และขั้นตอนการประเมินผลและรายงาน จัดอบรมจำนวน 1 รุ่น รูปแบบการฝึกอบรมแบบไป-กลับ เป็นเวลา 2 วัน กำหนดการฝึกอบรมเดือนมีนาคม 2564 -//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารของกรุงเทพมหานครเป็นรายกลุ่มเขต โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 189 คน ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต และกองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร ในเดือนมีนาคม 2564 ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงได้มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนเป็นรูปแบบออนไลน์รายกลุ่มเขต กลุ่มเขตละ 1 ครั้งๆละ 1 วัน ภายในเดือน เมษายน 2564 โดยให้เจ้าหน้าที่เรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ (cisco webex) และประเมินความรู้ก่อนและหลังการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ (google form) จำนวน 30 ข้อ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้หลังการเข้าร่วมกิจกรรมฯร้อยละ 80 ขณะนี้อยู่ระหว่างจัดทำวีดิทัศน์ “การตรวจคุณภาพอาหาร”จำนวน 15 เรื่อง พร้อมทั้งนำไปเผยแพร่บนเว็บไซต์ของกองสุขาภิบาลอาหาร เพื่อเป็นสื่อการสอนออนไลน์สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพในงานด้านการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นได้อย่าง มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน ในการดำเนินการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการดำเนินการ และขั้นตอนการประเมินผลและรายงาน ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการขั้นตอนที่ 1 ได้แก่ การดำเนินการจัดทำสื่อวีดิทัศน์ ชุด “การตรวจคุณภาพอาหาร” เพื่อเป็นสื่อการสอนออนไลน์สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร - จัดฝึกอบรมหลักสูตรวิชาการด้านสุขาภิบาลอาหาร โดยมีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 126 คน ประกอบด้วยข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญประเภทวิชาการ ตำแหน่งนักวิชาการสุขาภิบาล ระดับปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ และประเภททั่วไป ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข ระดับปฏิบัติงาน-ชำนาญงาน สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และกองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย การดำเนินการฝึกอบรม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการดำเนินการ และขั้นตอนการประเมินผลและรายงาน จัดอบรมจำนวน 1 รุ่น รูปแบบการฝึกอบรมแบบไป-กลับ เป็นเวลา 2 วัน กำหนดการฝึกอบรมเดือนพฤษภาคม 2564 ซึ่งได้ดำเนินการในขั้นตอนการเตรียมการเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างขั้นตอนการดำเนินการ ได้แก่ ประสานงานการดำเนินงานกับผู้เกี่ยวข้อง -//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารของกรุงเทพมหานครเป็นรายกลุ่มเขต โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 189 คน ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต และกองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร ในเดือนมีนาคม 2554 ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงได้มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนเป็นรูปแบบออนไลน์รายกลุ่มเขต กลุ่มเขตละ 1 ครั้งๆละ 1 วัน โดยให้เจ้าหน้าที่เรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ (google meet) และประเมินความรู้ก่อนและหลังการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ (google form) จำนวน 30 ข้อ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้หลังการเข้าร่วมกิจกรรมฯร้อยละ 80 ในการดำเนินการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการดำเนินการ และขั้นตอนการประเมินผลและรายงาน กองสุขาภิบาลอาหารได้จัดทำวีดิทัศน์ “การตรวจคุณภาพอาหาร”จำนวน 15 เรื่อง เพื่อเป็นสื่อออนไลน์สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร พร้อมทั้งนำไปเผยแพร่บนเว็บไซต์ของกองสุขาภิบาลอาหารเรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพในงานด้านการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นได้อย่าง มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน และได้จัดกิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารตามโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยในรูปแบบออนไลน์(google meet) กลุ่มเขตละ 1วัน กลุ่มเป้าหมายคือ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบด้านอาหารเขตละ 3 คน(ข้าราชการและลูกจ้าง) และเจ้าหน้าที่ประจำรถ mobile กลุ่มเขตละ 2 คน(เฉพาะเขตที่มีรถmobile) ระหว่างวันที่ 8 -17 มิถุนายน 2564 ทั้งหมด 6 กลุ่มเขตเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ ประมวลผล จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานเสนอผู้บริหาร - กองสุขาภิบาลอาหารจัดฝึกอบรมหลักสูตรวิชาการด้านสุขาภิบาลอาหาร โดยมีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 126 คน ประกอบด้วยข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญประเภทวิชาการ ตำแหน่งนักวิชาการสุขาภิบาล ระดับปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ และประเภททั่วไป ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข ระดับปฏิบัติงาน-ชำนาญงาน สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และกองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย การดำเนินการฝึกอบรม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการดำเนินการ และขั้นตอนการประเมินผลและรายงาน จัดอบรมจำนวน 1 รุ่น รูปแบบการฝึกอบรมแบบไป-กลับ เป็นเวลา 1 วัน กำหนดการฝึกอบรมเดือนมิถุนายน 2564 ซึ่งได้ดำเนินการในขั้นตอนการเตรียมการเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างขั้นตอนการดำเนินการ ได้แก่ ได้รับอนุมัติให้ข้าราชการกรุงเทพมหานครเข้าร่วมโครงการเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารวิชาการ/เอกสารประกอบการฝึกอบรมคำชี้แจงรายละเอียดผลการปฏิบัติราชการ-//-

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารของกรุงเทพมหานครเป็นรายกลุ่มเขต โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 189 คน ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต และกองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร ในเดือนมีนาคม 2554 ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จึงได้มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนเป็นรูปแบบออนไลน์รายกลุ่มเขต กลุ่มเขตละ 1 ครั้งๆละ 1 วัน โดยให้เจ้าหน้าที่เรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ (google meet) และประเมินความรู้ก่อนและหลังการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ (google form) จำนวน 30 ข้อ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้หลังการเข้าร่วมกิจกรรมฯร้อยละ 80 ในการดำเนินการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการดำเนินการ และขั้นตอนการประเมินผลและรายงาน กองสุขาภิบาลอาหารได้จัดทำวีดิทัศน์ “การตรวจคุณภาพอาหาร”จำนวน 15 เรื่อง เพื่อเป็นสื่อออนไลน์สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร พร้อมทั้งนำไปเผยแพร่บนเว็บไซต์ของกองสุขาภิบาลอาหารเรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพในงานด้านการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นได้อย่าง มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน และได้จัดกิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารตามโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยในรูปแบบออนไลน์(google meet) กลุ่มเขตละ 1วัน กลุ่มเป้าหมายคือ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบด้านอาหารเขตละ 3 คน(ข้าราชการและลูกจ้าง) และเจ้าหน้าที่ประจำรถ mobile กลุ่มเขตละ 2 คน(เฉพาะเขตที่มีรถmobile) ระหว่างวันที่ 8 -17 มิถุนายน 2564 ทั้งหมด 6 กลุ่มเขตเรียบร้อยแล้ว โดยผลดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารของกรุงเทพมหานครเป็นรายกลุ่มเขต มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวนทั้งสิ้น 177 คน ผ่านเกณฑ์การทดสอบ จำนวน 159 คน (ร้อยละ 89.83) และไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 18 คน (ร้อยละ 10.17) ในกรณีไม่ผ่านเกณฑ์การทดสอบ กองสุขาภิบาลอาหารได้ดำเนินการให้คำแนะนำและความรู้เพิ่มเติม พร้อมทั้งให้ทำแบบทดสอบอีกครั้ง จนกระทั่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมผ่านการทดสอบความรู้ทั้งหมด - กองสุขาภิบาลอาหารจัดฝึกอบรมหลักสูตรวิชาการด้านสุขาภิบาลอาหาร โดยมีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน ๑๒๖ คน ประกอบด้วยข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญประเภทวิชาการ ตำแหน่งนักวิชาการสุขาภิบาล ระดับปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ และประเภททั่วไป ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข ระดับปฏิบัติงาน-ชำนาญงาน สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และกองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย การดำเนินการฝึกอบรม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการดำเนินการ และขั้นตอนการประเมินผลและรายงาน จัดอบรมจำนวน 1 รุ่น รูปแบบการฝึกอบรมแบบไป-กลับ เป็นเวลา 2 วัน กำหนดการฝึกอบรมเดือนมิถุนายน 2564 ซึ่งได้ดำเนินการในขั้นตอนการเตรียมการและขั้นตอนการดำเนินการ ได้แก่ ได้รับอนุมัติให้ข้าราชการกรุงเทพมหานครเข้าร่วมโครงการเรียบร้อยแล้ว แต่เนื่องด้วยสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงยกเลิกโครงการฯ และคืนเงินงบประมาณ รายละเอียดตามหนังสือที่ กท 0714/705 ลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2564 และหนังสือที่ กงต.150/64 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(48) ร้อยละของศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในเครือข่ายสามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด
ร้อยละของศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในเครือข่ายสามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :85.00

ผลงาน :79.38

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
78.23

100 / 100
2
78.75

0 / 0
3
78.75

0 / 0
4
79.38

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ขณะนี้อยู่ระหว่างการขออนุมัติโครงการและงบประมาณ เพื่อดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ส่วนการถ่ายโอนข้อมูลจาก สปสช. อยู่ระหว่างการถ่ายโอนมา eHHC-BKK -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่าย สามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 151 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 83 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาคีเครือข่ายทั้งหมด 193 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 78.23

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อนุมัติโครงการและงบประมาณเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างการประสานศูนย์บริการสาธารณสุขเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการและขอรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการฯ -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่าย สามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 152 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 84 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาคีเครือข่ายทั้งหมด 193 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 78.75

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาความรู้และทักษะการใช้โปรแกรมการส่งต่อผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral Program) ซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนมิถุนายน 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 จึงได้เลื่อนการจัดกิจกรรมไปออกไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่าย สามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 152 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 84 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาคีเครือข่ายทั้งหมด 193 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 78.75

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ยกเลิกโครงการเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่าย สามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 154 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 85 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาคีเครือข่ายทั้งหมด 194 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 79.38

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(49) ร้อยละของศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในเครือข่ายสามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
ร้อยละของศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในเครือข่ายสามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :85.00

ผลงาน :79.38

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
78.23

100 / 100
2
78.75

0 / 0
3
78.75

0 / 0
4
79.38

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ขณะนี้อยู่ระหว่างการขออนุมัติโครงการและงบประมาณ เพื่อดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ส่วนการถ่ายโอนข้อมูลจาก สปสช. อยู่ระหว่างการถ่ายโอนมา eHHC-BKK -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่าย สามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 151 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 83 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาคีเครือข่ายทั้งหมด 193 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 78.23

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อนุมัติโครงการและงบประมาณเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างการประสานศูนย์บริการสาธารณสุขเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการและขอรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการฯ -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่าย สามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 152 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 84 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาคีเครือข่ายทั้งหมด 193 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 78.75

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาความรู้และทักษะการใช้โปรแกรมการส่งต่อผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral Program) ซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนมิถุนายน 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 จึงได้เลื่อนการจัดกิจกรรมไปออกไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่าย สามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 152 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 84 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาคีเครือข่ายทั้งหมด 193 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 78.75

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ยกเลิกโครงการเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่าย สามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 154 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 85 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาคีเครือข่ายทั้งหมด 194 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 79.38

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(50) ร้อยละความสำเร็จของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าโครงการมีความสามารถในการทรงตัวดีขึ้น (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด
ร้อยละความสำเร็จของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าโครงการมีความสามารถในการทรงตัวดีขึ้น (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :78.87

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
78.87

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน และติดตามผลการดำเนินงานของพื้นที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ติดตามการดำเนินงานโครงการฯของศูนย์บริการสาธารณสุข

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ติดตามการดำเนินงานโครงการฯ และรวบรวมผลการทดสอบสมรรถภาพร่างกายของผู้เข้าร่วมโครงการฯของศูนย์บริการสาธารณสุข

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

การดำเนินงานในชุมชนของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 69 แห่ง (69 ชุมชน) มีจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งสิ้นจำนวน 2,391 คน โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความสามารถในการทรงตัวดีขึ้น จำนวน 1,886 คน คิดเป็นร้อยละ 78.87

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(51) ร้อยละความสำเร็จของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าโครงการมีความสามารถในการทรงตัวดีขึ้น (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
ร้อยละความสำเร็จของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าโครงการมีความสามารถในการทรงตัวดีขึ้น (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :78.87

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
78.87

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน และติดตามผลการดำเนินงานของพื้นที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ติดตามการดำเนินงานโครงการฯของศูนย์บริการสาธารณสุข

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ติดตามการดำเนินงานโครงการฯ และรวบรวมผลการทดสอบสมรรถภาพร่างกายของผู้เข้าร่วมโครงการฯของศูนย์บริการสาธารณสุข

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

การดำเนินงานในชุมชนของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 69 แห่ง (69 ชุมชน) มีจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งสิ้นจำนวน 2,391 คน โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความสามารถในการทรงตัวดีขึ้น จำนวน 1,886 คน คิดเป็นร้อยละ 78.87

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(52) ร้อยละความสำเร็จของผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral Center ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด
ร้อยละความสำเร็จของผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral Center ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :94.00

ผลงาน :85.06

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
89.50

100 / 100
2
94.01

0 / 0
3
79.96

100 / 100
4
85.06

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างขออนุมัติโครงการและงบประมาณ (ก่อนหน้านี้ได้เสนอขออนุมัติโครงการ แต่เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 จึงได้มีการปรับกิจกรรมให้เหมาะกับสถานการณ์ และเสนออนุมัติโครงการใหม่) จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral มีจำนวน 5489 ราย ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ 4946 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อนุมัติโครงการและงบประมาณเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างการประสานศูนย์บริการสาธารณสุขเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการและขอรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการฯ -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral มีจำนวน 14,803 ราย ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ 13,917 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.01

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาความรู้และทักษะการใช้โปรแกรมการส่งต่อผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral Program) ซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนมิถุนายน 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 จึงได้เลื่อนการจัดกิจกรรมไปออกไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral มีจำนวน 18,611 ราย ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ 14,883 ราย คิดเป็นร้อยละ 79.96 (ข้อมูลระหว่างวันที่ 1 ต.ค.63 – 15 มิ.ย.64)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ยกเลิกโครงการเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด- 19 --จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral มีจำนวน 14,112 ราย ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ 12,004 ราย คิดเป็นร้อยละ 85.06 (ข้อมูลระหว่างวันที่ 1 ต.ค.63 – 10 ก.ย.64 และคิดเฉพาะจำนวนผู้สูงอายุ ตามการขออุธรณ์ตัวชี้วัดเจรจาตกลงของสำนักอนามัย)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(53) ร้อยละความสำเร็จของผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral Center ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
ร้อยละความสำเร็จของผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral Center ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :94.00

ผลงาน :85.06

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
89.50

100 / 100
2
94.01

0 / 0
3
79.96

100 / 100
4
85.06

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างขออนุมัติโครงการและงบประมาณ (ก่อนหน้านี้ได้เสนอขออนุมัติโครงการ แต่เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 จึงได้มีการปรับกิจกรรมให้เหมาะกับสถานการณ์ และเสนออนุมัติโครงการใหม่) จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral มีจำนวน 5489 ราย ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ 4946 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.50

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อนุมัติโครงการและงบประมาณเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างการประสานศูนย์บริการสาธารณสุขเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการและขอรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการฯ -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral มีจำนวน 14,803 ราย ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ 13,917 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.01

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาความรู้และทักษะการใช้โปรแกรมการส่งต่อผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral Program) ซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนมิถุนายน 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 จึงได้เลื่อนการจัดกิจกรรมไปออกไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral มีจำนวน 18,611 ราย ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ 14,883 ราย คิดเป็นร้อยละ 79.96 (ข้อมูลระหว่างวันที่ 1 ต.ค.63 – 15 มิ.ย.64)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ยกเลิกโครงการเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด- 19 --จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral มีจำนวน 14,112 ราย ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ 12,004 ราย คิดเป็นร้อยละ 85.06 (ข้อมูลระหว่างวันที่ 1 ต.ค.63 – 10 ก.ย.64 และคิดเฉพาะจำนวนผู้สูงอายุ ตามการขออุธรณ์ตัวชี้วัดเจรจาตกลงของสำนักอนามัย)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(54) ร้อยละของผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด
ร้อยละของผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
99.11

100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กองการพยาบาลสาธารณสุข ได้รับการอนุมัติโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ประจำปีงบประมาณ 2564 ได้เสนอของบประมาณ และอยู่ระหว่างการดำเนินงาน ดังนี้ 1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 2. ประชาสัมพันธ์และรวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย ในกิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการดำเนินการรวบรวมรายชื่อผู้สมัครเข้ารับการอบรมจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง รอบที่ 3 และกิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทางสุขภาพ ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ (Seamless Care) เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างการดำเนินการรวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม จากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ มีจำนวน 226 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ จำนวน 224 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.11

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 499 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมผู้ดูแลฯ (Caregiver) ทั้งหมด จำนวน 499 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุในช่วงเดือน ตุลาคม 2563 – มีนาคม 2564) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,555 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ(Caregiver)จากทั้งหมด เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ได้ดำเนินการเลื่อนการจัดกิจกรรมจนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทางสุขภาพ ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ (Seamless Care) เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษา เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ดำเนินการเลื่อนตารางออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 627 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมผู้ดูแลฯ (Caregiver) ทั้งหมด จำนวน 627 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุในช่วงเดือน ตุลาคม 2563 – มิถุนายน 2564) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,419 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ(Caregiver)จากทั้งหมด เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ดำเนินการดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้รับอนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทางสุขภาพ ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ (Seamless Care) เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้รับอนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้รับอนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 4 การประชุมชี้แจงการดำเนินงานของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการดำเนินการ กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) เลื่อนตารางการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น กิจกรรมที่ 6 สนับสนุนผู้ดูแล ให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างการดำเนินการ กิจกรรมที่ 7 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 645 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมผู้ดูแลฯ (Caregiver) ทั้งหมด จำนวน 645 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุในช่วงเดือน ตุลาคม 2563 – กันยายน 2564) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,339 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ(Caregiver)จากทั้งหมด ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(55) ร้อยละของผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
ร้อยละของผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
99.11

100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กองการพยาบาลสาธารณสุข ได้รับการอนุมัติโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ประจำปีงบประมาณ 2564 ได้เสนอของบประมาณ และอยู่ระหว่างการดำเนินงาน ดังนี้ 1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 2. ประชาสัมพันธ์และรวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย ในกิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการดำเนินการรวบรวมรายชื่อผู้สมัครเข้ารับการอบรมจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง รอบที่ 3 และกิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทางสุขภาพ ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ (Seamless Care) เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างการดำเนินการรวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม จากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ มีจำนวน 226 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ จำนวน 224 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.11

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 499 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมผู้ดูแลฯ (Caregiver) ทั้งหมด จำนวน 499 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุในช่วงเดือน ตุลาคม 2563 – มีนาคม 2564) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,555 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ(Caregiver)จากทั้งหมด เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ได้ดำเนินการเลื่อนการจัดกิจกรรมจนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทางสุขภาพ ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ (Seamless Care) เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษา เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ดำเนินการเลื่อนตารางออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 627 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมผู้ดูแลฯ (Caregiver) ทั้งหมด จำนวน 627 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุในช่วงเดือน ตุลาคม 2563 – มิถุนายน 2564) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,419 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ(Caregiver)จากทั้งหมด เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ดำเนินการดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้รับอนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทางสุขภาพ ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ (Seamless Care) เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้รับอนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้รับอนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 4 การประชุมชี้แจงการดำเนินงานของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการดำเนินการ กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) เลื่อนตารางการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น กิจกรรมที่ 6 สนับสนุนผู้ดูแล ให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างการดำเนินการ กิจกรรมที่ 7 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 645 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมผู้ดูแลฯ (Caregiver) ทั้งหมด จำนวน 645 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุในช่วงเดือน ตุลาคม 2563 – กันยายน 2564) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,339 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ(Caregiver)จากทั้งหมด ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(56) ร้อยละของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพผู้ตรวจการพยาบาล (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด
ร้อยละของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพผู้ตรวจการพยาบาล (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ในโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ดำเนินการจ้างบุคคลภายนอกตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างดำเนินการจ้างเหมาพิมพ์เอกสารการประเมิน ติดตาม กำกับงานการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านสำหรับผู้ตรวจการพยาบาล และขณะนี้ได้เตรียมกำหนดตารางแผนงานออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว ด้วยสถานการณ์โรคระบาดโรควิค 19 จึงจะเริ่มออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 เป็นต้นไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ในโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ดำเนินการจ้างบุคคลภายนอกตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เรียบร้อยแล้ว และขณะนี้ได้เตรียมกำหนดตารางแผนงานออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว ด้วยสถานการณ์โรคระบาดโรควิค 19 จึงจะเริ่มออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย ในเดือนเมษายน 2564 เป็นต้นไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านที่ปฏิบัติงานจริง จำนวน 3,362 คน ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแลฯ และจำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลฯ ทั้งหมด จำนวน 3,362 คน คิดเป็นร้อยละ 100 กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ในโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ระลอกใหม่ ได้เลื่อนตารางการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

มีผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านที่ปฏิบัติงานจริง จำนวน 3,362 คน ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแลฯ และจำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลฯ ทั้งหมด จำนวน 3,362 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เนื่องจากอยู่ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด19 ทำให้มีความยากลำบากในการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(57) ร้อยละของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพผู้ตรวจการพยาบาล (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
ร้อยละของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพผู้ตรวจการพยาบาล (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ในโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ดำเนินการจ้างบุคคลภายนอกตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างดำเนินการจ้างเหมาพิมพ์เอกสารการประเมิน ติดตาม กำกับงานการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านสำหรับผู้ตรวจการพยาบาล และขณะนี้ได้เตรียมกำหนดตารางแผนงานออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว ด้วยสถานการณ์โรคระบาดโรควิค 19 จึงจะเริ่มออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 เป็นต้นไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ในโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ดำเนินการจ้างบุคคลภายนอกตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เรียบร้อยแล้ว และขณะนี้ได้เตรียมกำหนดตารางแผนงานออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว ด้วยสถานการณ์โรคระบาดโรควิค 19 จึงจะเริ่มออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย ในเดือนเมษายน 2564 เป็นต้นไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านที่ปฏิบัติงานจริง จำนวน 3,362 คน ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแลฯ และจำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลฯ ทั้งหมด จำนวน 3,362 คน คิดเป็นร้อยละ 100 กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ในโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ระลอกใหม่ ได้เลื่อนตารางการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

มีผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านที่ปฏิบัติงานจริง จำนวน 3,362 คน ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแลฯ และจำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลฯ ทั้งหมด จำนวน 3,362 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เนื่องจากอยู่ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด19 ทำให้มีความยากลำบากในการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(58) ร้อยละของคนพิการ ผู้สูงอายุ และด้อยโอกาสที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาสุขภาพขอรับความช่วยเหลือได้รับความช่วยเหลือตามความต้องการและจำเป็นในการดำรงชีวิต (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด
ร้อยละของคนพิการ ผู้สูงอายุ และด้อยโอกาสที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาสุขภาพขอรับความช่วยเหลือได้รับความช่วยเหลือตามความต้องการและจำเป็นในการดำรงชีวิต (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :90.20

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
90.20

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 69 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่มีความจำเป็นและต้องการได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว โครงการเสวนา มิติสุขภาพกับสถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบัน 1. วางแผนการดำเนินงานและเตรียมการประชุมเพื่อขอความเห็นชอบและขออนุมัติงบประมาณ กิจกรรมช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง 3. ปรับปรุงรายงานการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 69 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่มีความจำเป็นและต้องการได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 4. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้บริษัทผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างนิติกรตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง 5. ดำเนินการจัดเตรียมขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย โครงการเสวนา มิติสุขภาพกับสถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบัน 1. วางแผนการดำเนินงานและเตรียมการประชุมเพื่อขอความเห็นชอบและขออนุมัติงบประมาณ 2. อยู่ระหว่างประเมินสถานการณ์ COVID-19 เพื่อปรับแผนดำเนินการ กิจกรรมช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง 3. ปรับปรุงรายงานการดำเนินงาน 4. ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ต.ค.2563-28 ก.พ.2564 5. อยู่ระหว่างสรุปรายงานครั้งที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 69 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่มีความจำเป็นและต้องการได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 4. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้บริษัทผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างนิติกรตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง 5. ดำเนินการจัดเตรียมขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย 6. รออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย 7. เตรียมการตรวจการจัดซื้อจัดจ้างและรอการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย โครงการเสวนา มิติสุขภาพกับสถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบัน 1. วางแผนการดำเนินงานและเตรียมการประชุมเพื่อขอความเห็นชอบและขออนุมัติงบประมาณ 2. อยู่ระหว่างประเมินสถานการณ์ COVID-19 เพื่อปรับแผนดำเนินการ 3. อนุมัติยกเลิกโครงการฯ อนุมัติเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2564 ตามหนังสือที่ กท 0702/1292 ลงวันที่ 21 มิถุนายน 2564 กิจกรรมช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง 3. ปรับปรุงรายงานการดำเนินงาน 4. ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ต.ค.2563-28 ก.พ.2564 5. อยู่ระหว่างสรุปรายงานครั้งที่ 1 6. สรุปการช่วยเหลือระหว่างวันที่ 1 ต.ค.2563-30 มี.ค.2564 มีจำนวนทั้งสิ้น 49 ราย 7. ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 มี.ค.2564-30 มิ.ย.2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 69 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่มีความจำเป็นและต้องการได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 4. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้บริษัทผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างนิติกรตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง 5. ดำเนินการจัดเตรียมขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย 6. รออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย 7. เตรียมการตรวจการจัดซื้อจัดจ้างและรอการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย 8. ขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์สังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีลักษณะเป็นการจำหน่าย 9. บริษัทตู่สัญญานัดคณะกรรมการตรวจรับพัสดุมาตรวจรับสินค้า และส่งมอบได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวฯ 10. นักสังคมสงเคราะห์ 69 ศูนย์บริการสาธารณสุข ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวฯ มีจำนวนผู้ด้อยโอกาสที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมดของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 732 คน และแจกจ่ายประชาชน 660 คน เรียบร้อยแล้ว ตามบัญชีจัดสรรอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวฯ ปี 2564 คิดเป็นร้อยละ 90.20 ของจำนวนผู้ประสบปัญหาและขอรับความช่วยเหลืออุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 11. สำรวจความพึงพอใจของผู้ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวตามโครงการฯ พบว่า ร้อยละ 100 ของคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ทีี่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหวที่ได้รับการส่งเคราะห์อุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว มีความพึงพอใจในการรับบริการและอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวในระดับมากขึ้นไป 12. มีผู้ได้รับ/ขอยืมอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว ได้แก่ เครื่องดูดเสมหะ รถเข็นผู้ป่วยชนิดนั่ง เตียงผู้ป่วย เครื่องช่วยเดินชนิด 4 ขา (Pick up walker) ไม้เท้าชนิด 3 ปุ่ม หรือ 4 ปุ่ม และผ้าอ้อมสำหรับผู้ใหญ่ จากมูลนิธิส่งเสริมและสนับสนุนกิจการของสำนักอนามัย จำนวน 6 คน โครงการเสวนา มิติสุขภาพกับสถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบัน (ยกเลิกโครงการ) 1. วางแผนการดำเนินงานและเตรียมการประชุมเพื่อขอความเห็นชอบและขออนุมัติงบประมาณ 2. อยู่ระหว่างประเมินสถานการณ์ COVID-19 เพื่อปรับแผนดำเนินการ 3. อนุมัติยกเลิกโครงการฯ อนุมัติเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2564 ตามหนังสือที่ กท 0702/1292 ลงวันที่ 21 มิถุนายน 2564 กิจกรรมช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง 3. ปรับปรุงรายงานการดำเนินงาน 4. ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ต.ค.2563-28 ก.พ.2564 5. อยู่ระหว่างสรุปรายงานครั้งที่ 1 6. สรุปการช่วยเหลือระหว่างวันที่ 1 ต.ค.2563-30 มี.ค.2564 มีจำนวนทั้งสิ้น 49 ราย 7. ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 เม.ย.2564-7 ก.ย.2564 มีผู้ประสบปัญหาและได้รับการช่วยเหลือจำนวน 22 คน 8. สรุปการช่วยเหลือระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2563-7 กันยายน 2564 มีผู้ประสบปัญหาและได้รับการช่วยเหลือ จำนวนทั้งสิ้น 71 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(59) ร้อยละของคนพิการ ผู้สูงอายุ และด้อยโอกาสที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาสุขภาพขอรับความช่วยเหลือได้รับความช่วยเหลือตามความต้องการและจำเป็นในการดำรงชีวิต (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
ร้อยละของคนพิการ ผู้สูงอายุ และด้อยโอกาสที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาสุขภาพขอรับความช่วยเหลือได้รับความช่วยเหลือตามความต้องการและจำเป็นในการดำรงชีวิต (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :90.20

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
90.20

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 69 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่มีความจำเป็นและต้องการได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว โครงการเสวนา มิติสุขภาพกับสถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบัน 1. วางแผนการดำเนินงานและเตรียมการประชุมเพื่อขอความเห็นชอบและขออนุมัติงบประมาณ กิจกรรมช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง 3. ปรับปรุงรายงานการดำเนินงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 69 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่มีความจำเป็นและต้องการได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 4. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้บริษัทผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างนิติกรตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง 5. ดำเนินการจัดเตรียมขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย โครงการเสวนา มิติสุขภาพกับสถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบัน 1. วางแผนการดำเนินงานและเตรียมการประชุมเพื่อขอความเห็นชอบและขออนุมัติงบประมาณ 2. อยู่ระหว่างประเมินสถานการณ์ COVID-19 เพื่อปรับแผนดำเนินการ กิจกรรมช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง 3. ปรับปรุงรายงานการดำเนินงาน 4. ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ต.ค.2563-28 ก.พ.2564 5. อยู่ระหว่างสรุปรายงานครั้งที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 69 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่มีความจำเป็นและต้องการได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 4. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้บริษัทผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างนิติกรตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง 5. ดำเนินการจัดเตรียมขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย 6. รออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย 7. เตรียมการตรวจการจัดซื้อจัดจ้างและรอการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย โครงการเสวนา มิติสุขภาพกับสถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบัน 1. วางแผนการดำเนินงานและเตรียมการประชุมเพื่อขอความเห็นชอบและขออนุมัติงบประมาณ 2. อยู่ระหว่างประเมินสถานการณ์ COVID-19 เพื่อปรับแผนดำเนินการ 3. อนุมัติยกเลิกโครงการฯ อนุมัติเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2564 ตามหนังสือที่ กท 0702/1292 ลงวันที่ 21 มิถุนายน 2564 กิจกรรมช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง 3. ปรับปรุงรายงานการดำเนินงาน 4. ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ต.ค.2563-28 ก.พ.2564 5. อยู่ระหว่างสรุปรายงานครั้งที่ 1 6. สรุปการช่วยเหลือระหว่างวันที่ 1 ต.ค.2563-30 มี.ค.2564 มีจำนวนทั้งสิ้น 49 ราย 7. ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 มี.ค.2564-30 มิ.ย.2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 69 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่มีความจำเป็นและต้องการได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 4. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้บริษัทผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างนิติกรตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง 5. ดำเนินการจัดเตรียมขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย 6. รออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย 7. เตรียมการตรวจการจัดซื้อจัดจ้างและรอการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะจำหน่าย 8. ขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์สังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีลักษณะเป็นการจำหน่าย 9. บริษัทตู่สัญญานัดคณะกรรมการตรวจรับพัสดุมาตรวจรับสินค้า และส่งมอบได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวฯ 10. นักสังคมสงเคราะห์ 69 ศูนย์บริการสาธารณสุข ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวฯ มีจำนวนผู้ด้อยโอกาสที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมดของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 732 คน และแจกจ่ายประชาชน 660 คน เรียบร้อยแล้ว ตามบัญชีจัดสรรอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวฯ ปี 2564 คิดเป็นร้อยละ 90.20 ของจำนวนผู้ประสบปัญหาและขอรับความช่วยเหลืออุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 11. สำรวจความพึงพอใจของผู้ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวตามโครงการฯ พบว่า ร้อยละ 100 ของคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ทีี่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหวที่ได้รับการส่งเคราะห์อุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว มีความพึงพอใจในการรับบริการและอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวในระดับมากขึ้นไป 12. มีผู้ได้รับ/ขอยืมอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว ได้แก่ เครื่องดูดเสมหะ รถเข็นผู้ป่วยชนิดนั่ง เตียงผู้ป่วย เครื่องช่วยเดินชนิด 4 ขา (Pick up walker) ไม้เท้าชนิด 3 ปุ่ม หรือ 4 ปุ่ม และผ้าอ้อมสำหรับผู้ใหญ่ จากมูลนิธิส่งเสริมและสนับสนุนกิจการของสำนักอนามัย จำนวน 6 คน โครงการเสวนา มิติสุขภาพกับสถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบัน (ยกเลิกโครงการ) 1. วางแผนการดำเนินงานและเตรียมการประชุมเพื่อขอความเห็นชอบและขออนุมัติงบประมาณ 2. อยู่ระหว่างประเมินสถานการณ์ COVID-19 เพื่อปรับแผนดำเนินการ 3. อนุมัติยกเลิกโครงการฯ อนุมัติเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2564 ตามหนังสือที่ กท 0702/1292 ลงวันที่ 21 มิถุนายน 2564 กิจกรรมช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง 3. ปรับปรุงรายงานการดำเนินงาน 4. ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ต.ค.2563-28 ก.พ.2564 5. อยู่ระหว่างสรุปรายงานครั้งที่ 1 6. สรุปการช่วยเหลือระหว่างวันที่ 1 ต.ค.2563-30 มี.ค.2564 มีจำนวนทั้งสิ้น 49 ราย 7. ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 เม.ย.2564-7 ก.ย.2564 มีผู้ประสบปัญหาและได้รับการช่วยเหลือจำนวน 22 คน 8. สรุปการช่วยเหลือระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2563-7 กันยายน 2564 มีผู้ประสบปัญหาและได้รับการช่วยเหลือ จำนวนทั้งสิ้น 71 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๕.๓ - การกระจายอำนาจสู่ประชาชน

(60) ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนตามกฏหมายกระจายอำนาจ (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ]

๕.๓.๑ ลดบทบาทส่วนกลางลงเหลือภารกิจหลักเท่าที่ต้องทำเท่าที่จำเป็นและให้อำานาจในการกำหนดนโ
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนตามกฏหมายกระจายอำนาจ (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างขออนุมัติโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เตรียมการจัดการอบรมให้ความรู้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้แก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต แต่เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 จึงเลื่อนการจัดอบรมออกไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เตรียมการจัดการอบรมให้ความรู้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้แก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ขอปรับเปลี่ยนคำนิยามตามตัวชี้วัดมาตรการ ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนตามกฎหมายกระจายอำนาจ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการถ่ายโอนภารกิจตามกฎหมายจากกระทรวงอุตสาหกรรม หมายความว่า สำนักงานเขตที่ได้รับการถ่ายโอนภารกิจในการกำกับดูแลโรงงานจำพวกที่ 2 ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ได้ดำเนินการมอบแฟ้มถ่ายโอนภารกิจโรงงานฯ ให้สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต จำนวน 317 ราย และยกเลิกการดำเนินโครงการพัฒนาสมรรถนะพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 ของกรุงเทพมหานคร เนื่องจากกิจกรรมหลักของโครงการฯ กำหนดให้เจ้าหน้าที่หรือผู้เข้ารับการอบรมลงพื้นที่ไปยังสถานประกอบการ ดำเนินการตรวจสอบเพื่อถอดบทเรียน รวมกลุ่มประชุมหารือถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งการดำเนินกิจกรรมดังกล่าวมีความเสี่ยงสูงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งในเรื่องนี้ผู้อำนวยการสำนักอนามัยได้อนุมัติยกเลิกโครงการฯ เป็นที่เรียบร้อย (รายละเอียดตามหนังสือที่ กท 0704/630 ลงวันที่ 9 กรกฎาคม 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล

(61) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :80.64

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.22

100 / 100
2
6.45

0 / 0
3
19.35

0 / 0
4
80.64

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

มีโครงการงานประจำทั้งสิ้น 31 โครงการ กำลังดำเนินการ จำนวน 30 โครงการ แล้วเสร็จ จำนวน 1 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

มีโครงการงานประจำทังสิ้น 31 โครงการ กำลังดำเนินการ จำนวน 29 โครงการ แล้วเสร็จ จำนวน 2 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีโครงการงานประจำทังสิ้น 31 โครงการ กำลังดำเนินการ จำนวน 25 โครงการ แล้วเสร็จ จำนวน 6 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

โครงการประจำพื้นฐาน ทั้งหมด 31 โครงการ 1. โครงการจัดทำวารสารสุขภาพสำนักอนามัย ดำเนินการแล้วเสร็จ 2. เงินสมทบกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ดำเนินการแล้วเสร็จ 3. โครงการยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการบริหารแผนงาน โครงการและการติดตามประเมินผลแผนสำนักอนามัย ดำเนินการแล้วเสร็จ 4. โครงการสัมมนาเชิงปฎิบัติการการพัฒนาเสริมสร้างองค์ความรู้การบริการสุขภาพตามแนวชีวิตวิถีใหม่ ดำเนินการแล้วเสร็จ 5. โครงการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 3 ยกเลิกโครงการ 6. โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561-2564) ดำเนินการแล้วเสร็จ 7. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรนักบริหารสุขภาวะเขตเมือง รุ่นที่ 3 ขอขยายเวลาดำเนินโครงการ 8. โครงการพัฒนาศักยภาพนักสังคมสงเคราะห์มุ่งสู่ความเป็นมืออาชีพ ดำเนินการแล้วเสร็จ 9. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรการบริหารการพยาบาล (ด้านบริหารอนามัย) รุ่นที่ 21 ดำเนินการแล้วเสร็จ 10. โครงการพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้จัดการสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (Nurse Care Manager in Home Ward) ดำเนินการแล้วเสร็จ 11. โครงการฝึกอบรมปฐมนิเทศบุคลากรสายงานพยาบาลเพื่อสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และทัศนคติในการพยาบาลสาธารณสุขสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ดำเนินการแล้วเสร็จ 12. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสายงานเภสัชกรรม ดำเนินการแล้วเสร็จ 13. โครงการอบรมเพิ่มพูนความรู้ด้านทันตกรรม ดำเนินการแล้วเสร็จ 14. โครงการสัมมนาและดูงานการบริการสาธารณสุข ยกเลิกโครงการ 15. โครงการฝึกอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข (HCIS) ดำเนินการแล้วเสร็จ 16. โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางชื่อ ดำเนินการแล้วเสร็จ 17. โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 34โพธิ์ศรี ดำเนินการแล้วเสร็จ 18. โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายภายในอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม - พิมเสน ฟักอุดม ขอขยายเวลาในการดำเนินโครงการ 19. โครงการคนกรุงเทพฯรักฟัน (เพื่อเข้าสู่วัยสูงอายุฟันดี) ดำเนินการแล้วเสร็จ 20. โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ร่วมใจขจัดภัยสุขภาพ ดำเนินการแล้วเสร็จ 21. โครงการอบรมเตรียมความพร้อมในการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ยกเลิกโครงการ 22. โครงการส่งเสริมการจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการ ดำเนินการแล้วเสร็จ 23. โครงการก่อสร้างอาคารสำนักงานชันสูตรสาธารณสุข และศูนย์บริการสาธารณสุข 7 บุญมี ปุรุราชรังสรรค์ (ต่อเนื่อง 2562-2565) ดำเนินการแล้วเสร็จ 24. โครงการก่อสร้างศูนย์บริการสาธารณสุข 30 (แห่งใหม่) (ต่อเนื่อง 2562-2565) กันเงินเหลี่ยมปี 25. โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 39 ราษฎร์บูรณะ (ต่อเนื่อง 2562-2565) ดำเนินแล้วเสร็จ 26. โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 47 คลองขวาง (ต่อเนื่อง 2562-2565) ดำเนินแล้วเสร็จ 27. โครงการปรับปรุงศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา ดำเนินแล้วเสร็จ 28. โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานคร (ประเวศ) ดำเนินการแล้วเสร็จ 29. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพคนกรุงเทพฯ ดำเนินการแล้วเสร็จ 30. กิจกรรมสาระสุขภาพทางสื่อสาธารณะ ดำเนินการแล้วเสร็จ 31. กิจกรรมบำรุงรักษาระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการแล้วเสร็จ โครงการงานประจำทั้งหมด 31 โครงการ ดำเนินการแล้วเสร็จ 25 โครงการ ยกเลิก 3 โครงการ ขอขยายเวลาในารดำเนินการ 2 โครงการ โครงการกันเงินเหลี่ยมปี 1 โครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด