๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :66.67 |
มีโครงการงานประจำทั้งหมด จำนวน 39 โครงการ ยังไม่มีโครงการงานประจำที่ดำเนินการเสร็จสิ้น
มีโครงการงานประจำเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 2 จำนวน 4 โครงการ จากโครงการงานประจำทั้งหมด 39 โครงการ
-มีโครงการงานประจำเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 3 จำนวน 8 โครงการ จากโครงการงานประจำทั้งหมด 39 โครงการ
-มีโครงการงานประจำเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 4 จำนวน 26 โครงการ จากโครงการงานประจำทั้งหมด 39 โครงการ
๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :7.00 ผลงาน :4.26 |
เบิกจ่ายภาพรวม ณ.วันที่ 25 ธันวาคม 2562 - หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ งบประมาณที่ได้รับ 642,098,400.- บาท เบิกจ่ายได้ 58,279,062.73 บาท คิดเป็น 9.08% - หมวดค่าสาธารณูปโภค งบประมาณที่ได้รับ 65,197,500.- บาท เบิกจ่ายได้ 13,729,573.69 บาท คิดเป็น 34 .67% - หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง งบประมาณที่ได้รับ 103,257,400.- บาท เบิกจ่ายได้ 0.00 บาท คิดเป็น 0.00 % - หมวดเงินอุดหนุน งบประมาณที่ได้รับ 214,126,000.- บาท เบิกจ่ายได้ 0.00 บาท คิดเป็น 0.00% - หมวดรายจ่ายอื่น งบประมาณที่ได้รับ 72,577,300.- บาท เบิกจ่ายได้ 832,776.00 บาท คิดเป็น 1.15% รวม งบประมาณที่ได้รับ 1,097,256,600.- บาท เบิกจ่ายได้ 72,841,412.42 บาท คิดเป็น 6.64%
เบิกจ่ายภาพรวม ณ.วันที่ 26 มีนาคม 2563 - หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ งบประมาณที่ได้รับ 642,098,400.- บาท เบิกจ่ายได้ 175,749,835.82 บาท คิดเป็น 27.37% - หมวดค่าสาธารณูปโภค งบประมาณที่ได้รับ 65,197,500.- บาท เบิกจ่ายได้ 27,274,105.28 บาท คิดเป็น 41.83% - หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง งบประมาณที่ได้รับ 93,167,890.- บาท เบิกจ่ายได้ 6,772,000.00 บาท คิดเป็น 7.27 % - หมวดเงินอุดหนุน งบประมาณที่ได้รับ 214,126,000.- บาท เบิกจ่ายได้ 214,126,000.00 บาท คิดเป็น 100.00% - หมวดรายจ่ายอื่น งบประมาณที่ได้รับ 71,821,157.- บาท เบิกจ่ายได้ 6,153,441.50 บาท คิดเป็น 8.57% รวม งบประมาณที่ได้รับ 1,086,410,947.- บาท เบิกจ่ายได้ 430,075,382.60 บาท คิดเป็น 39.59%
เบิกจ่ายภาพรวม ณ.วันที่ 29 มิถุนายน 2563 งบประมาณที่ได้รับ 482,323,659.- บาท เบิกจ่ายได้ 334,260,287.14 บาท คิดเป็น 52.06% - หมวดค่าสาธารณูปโภค งบประมาณที่ได้รับ 65,197,500.- บาท เบิกจ่ายได้ 43,898,836.85 บาท คิดเป็น 67.33% - หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง งบประมาณที่ได้รับ 41,684,525.- บาท เบิกจ่ายได้ 27,713,656.00 บาท คิดเป็น 61.24 % - หมวดเงินอุดหนุน งบประมาณที่ได้รับ 214,126,000.- บาท เบิกจ่ายได้ 214,126,000.00 บาท คิดเป็น 100.00% - หมวดรายจ่ายอื่น งบประมาณที่ได้รับ 65,909,853.- บาท เบิกจ่ายได้ 22,801,824.29 บาท คิดเป็น 31.96% รวม งบประมาณที่ได้รับ 869,241,537.- บาท เบิกจ่ายได้ 642,800,604.28 บาท คิดเป็น 73.95%
เบิกจ่ายภาพรวม ณ.วันที่ 11 กันยายน 2563 - หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ งบประมาณที่ได้รับ 539,806,079.- บาท เบิกจ่ายได้ 455,116,306.60 บาท คิดเป็น 70.97% - หมวดค่าสาธารณูปโภค งบประมาณที่ได้รับ 65,197,500.- บาท เบิกจ่ายได้ 56,803,865.30 บาท คิดเป็น 86.83% - หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง งบประมาณที่ได้รับ 41,684,525.- บาท เบิกจ่ายได้ 39,881,525.00 บาท คิดเป็น 95.67 % - หมวดเงินอุดหนุน งบประมาณที่ได้รับ 214,126,000.- บาท เบิกจ่ายได้ 214,126,000.00 บาท คิดเป็น 100.00% - หมวดรายจ่ายอื่น งบประมาณที่ได้รับ 66,897,307.- บาท เบิกจ่ายได้ 27,612,621.43 บาท คิดเป็น 57.05% รวม งบประมาณที่ได้รับ 927,711,411.- บาท เบิกจ่ายได้ 793,540,318.33 บาท คิดเป็น 85.54% เบิกจ่ายภาพรวม ณ.วันที่ 30 กันยายน 2563 - หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ งบประมาณที่ได้รับ 575,459,493.- บาท เบิกจ่ายได้ 497,475,821.84 บาท คิดเป็น 86.45% - หมวดค่าสาธารณูปโภค งบประมาณที่ได้รับ 58,437,011.- บาท เบิกจ่ายได้ 58,211,607.76 บาท คิดเป็น 99.62% - หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง งบประมาณที่ได้รับ 47,808,556.- บาท เบิกจ่ายได้ 41,659,525.00 บาท คิดเป็น 87.14 % - หมวดเงินอุดหนุน งบประมาณที่ได้รับ 214,126,000.- บาท เบิกจ่ายได้ 214,126,000.00 บาท คิดเป็น 100.00% - หมวดรายจ่ายอื่น งบประมาณที่ได้รับ 46,969,671.- บาท เบิกจ่ายได้ 42,289,621.43 บาท คิดเป็น 90.04% - งบกลาง งบประมาณที่ได้รับ 264,316,755.- บาท เบิกจ่ายได้ 264,316,755. บาท คิดเป็น 100.00% รวม งบประมาณที่ได้รับ 1,207,117,486.- บาท เบิกจ่ายได้ 1,118,079,331.03 บาท คิดเป็น 92.624%
๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :1.50 ผลงาน :1.20 |
1. จัดส่งรายงานให้สำนักการคลังและสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 26 พ.ย.62 2. บันทึกรายการในสมุดบัญชีทุกประเภทได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามที่คูมือการบัญชีกรุงเทพมหานครกำหนด
อยู่ระหว่างขั้นตอนการบันทึกบัญชี 1. จัดส่งรายงานให้สำนักการคลังและสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 26 พ.ย.62 2. บันทึกรายการในสมุดบัญชีทุกประเภทได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามที่คูมือการบัญชีกรุงเทพมหานครกำหนด
อยู่ระหว่างขั้นตอนการบันทึกบัญชี 1. จัดส่งรายงานให้สำนักการคลังและสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 26 พ.ย.62 2. บันทึกรายการในสมุดบัญชีทุกประเภทได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามที่คูมือการบัญชีกรุงเทพมหานครกำหนด
อยู่ระหว่างขั้นตอนการบันทึกบัญชี 1. จัดส่งรายงานให้สำนักการคลังและสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 26 พ.ย.62 2. บันทึกรายการในสมุดบัญชีทุกประเภทได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามที่คูมือการบัญชีกรุงเทพมหานครกำหนด
๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :1.50 ผลงาน :1.43 |
- จัดทำรายงานสรุปยอดทรัพย์สินประจำปี พ.ศ.2562 และส่งสำนักการคลังภายในวันที่ 30 ตุลาคม 2562 - ส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัยเตรียมจัดทำข้อมูลเพื่อจัดส่งรายงานทรัพย์สินรายไตรมาส ไตรมาสที่ 1 มายังสำนักงาน เลขานุการ - สำนักงานเลขานุการ สำนักอนามัย จัดทำหนังสือเวียนแจ้งไปยังหน่วยงานสำนักอนามัย เพื่อให้ตรวจสอบและจัดทำรายงานพัสดุไตรมาสที่ 1
-ส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัยตรวจสอบและจัดทำรายงานพัสดุ ไตรมาสที่ 1 (ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 62 - 31 ธ.ค. 62) ส่งสรุปรายงานมายังสำนักงานเลขานุการ สำนักอนามัย ตามหนังสือ ที่ กท 0701/6379 ลว. 9 ธ.ค. 62 -จัดส่งรายงานการตรวจสอบยืนยันข้อมูลทรัพย์สิน ระหว่างหน่วยงานกองทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุและกองบัญชี ประจำปีงบประมาณ 2563 ไตรมาสที่ 1 (ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 62 - 31 ธ.ค. 62) ในภาพรวมสำนักอนามัยส่งผู้อำนวยการสำนักการคลัง ตามหนังสือ ที่ กท 0701/100 ลว. 6 ม.ค. 63 -คำนวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินตามเกณฑ์คงค้าง ประจำปีเริ่มได้-2546,2543-2546,2547,2548,2549,2550,2551,2552,2553 และ 2554 -จัดทำบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินตามเกณฑ์คงค้าง ประจำปีเริ่มได้-2546,2543-2546,2547,2548,2549,2550,2551,2552,2553 และ 2554 -จัดทำหนังสือเวียนแจ้งไปยังส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัยเพื่อให้ดำเนินการตรวจสอบและจัดทำรายงานพัสดุประจำไตรมาสที่ 2 (ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 63 - 31 มี.ค. 63) ตามหนังสือ ที่ กท 0701/1120 ลว. 27 ก.พ. 63 -ส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัยตรวจสอบและจัดทำรายงานพัสดุ ประจำไตรมาสที่ 2 (ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 63 - 1 มี.ค. 63) ส่งสรุปรายงานมายังสำนักงานเลขานุการ สำนักอนามัย ตามหนังสือ ที่ กท 0701/1120 ลว. 27 ก.พ. 63 -สำนักอนามัยรวบรวมข้อมูลจากส่วนราชการในสังกัดอนามัยเพื่อเตรียมจัดส่งรายงานทรัพย์สินประจำไตรมาสที่ 2 (ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 63 - 31 มี.ค. 63)
-อยู่ระหว่างตรวจสอบยืนยันยอดร่วมกันระหว่างฝ่ายพัสดุและฝ่ายการคลังของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ไตรมาสที่ 3 (ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563) เพื่อจัดส่งสำนักการคลัง -คำนวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินตามเกณฑ์คงค้าง ประจำปี 2555,2556,2557,2558,2559,2560,2561 และ 2562 -จัดทำบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินตามเกณฑ์คงค้าง ประจำปี 2555,2556,2557,2558,2559,2560,2561 และ 2562
1. คำนวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินตามเกณฑ์คงค้างประจำปี 2563 2. จัดทำบัญชีเปรียบเทียบมูลค่าทรัพย์สินตามเกณฑ์คงค้างประจำปี 2563 3. สำนักอนามัยกำลังดำเนินการตรวจสอบและจัดทำรายงานพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ประจำไตรมาสที่ 4 (ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 63 -30 ก.ย. 63) เพื่อยืนยันข้อมูลทรัพย์สินระหว่างหน่วยงาน กองทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ และกองบัญชี และจะจัดส่งผู้อำนวยการสำนักการคลัง ภายในวันที่ 10 ต.ค. 63 4. สำนักอนามัยได้จัดทำหนังสือเวียนแจ้งไปยังทุกส่วนราชการในสังกัดสำนักอนามัย เพื่อจัดทำรายงานสรุปยอดทรัพย์สินประจำปี พ.ศ. 2563 ตามหนังสือที่ กท 0701/7243 ลว. 11 ก.ย. 63
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :7.00 ผลงาน :7.00 |
องค์ประกอบที่ 1 ผลการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด โดยกองเภสัชกรรม ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการให้บริการที่ดีที่สุดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีผลการดำเนินงานสำเร็จตามตัวชี้วัดจำนวน 1 ตัวชี้วัด และการรักษาหรือคงไว้หรือการพัฒนาโครงการให้บริการที่ดีทีสุด โดยสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด อยู่ระหว่างดำเนินการ องค์ประกอบที่ 2 สำนักอนามัย เคยได้รับรางวัลโครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่มีความโด่ดเด่นเมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 - 2561
องค์ประกอบที่ 1 ผลการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด โดยกองเภสัชกรรม ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการให้บริการที่ดีที่สุดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีผลการดำเนินงานสำเร็จตามตัวชี้วัดจำนวน 2 ตัวชี้วัด และการรักษาหรือคงไว้หรือการพัฒนาโครงการให้บริการที่ดีทีสุด โดยสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด อยู่ระหว่างดำเนินการ องค์ประกอบที่ 2 สำนักอนามัย เคยได้รับรางวัลโครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่มีความโด่ดเด่นเมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 - 2561
องค์ประกอบที่ 1 ผลการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด โดยกองเภสัชกรรม ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการให้บริการที่ดีที่สุดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีผลการดำเนินงานสำเร็จตามตัวชี้วัดจำนวน 2 ตัวชี้วัด และการรักษาหรือคงไว้หรือการพัฒนาโครงการให้บริการที่ดีทีสุด โดยสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด อยู่ระหว่างดำเนินการ องค์ประกอบที่ 2 สำนักอนามัย เคยได้รับรางวัลโครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่มีความโดดเด่นเมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 – 2561
องค์ประกอบที่ 1 ผลการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด โดยกองเภสัชกรรม ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการให้บริการที่ดีที่สุดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีผลการดำเนินงานสำเร็จตามตัวชี้วัดจำนวน 3 ตัวชี้วัด และการรักษาหรือคงไว้หรือการพัฒนาโครงการให้บริการที่ดีทีสุด โดยสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด อยู่ระหว่างดำเนินการ องค์ประกอบที่ 2 สำนักอนามัย เคยได้รับรางวัลโครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่มีความโดดเด่นเมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561
๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :7.00 ผลงาน :4.00 |
เข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ศูนย์ฯ กทม.1555 แจ้งเรื่องให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดำเนินการแก้ไข ตอบรายงานผ่านระบบ MIS ทุกวัน ว่าเรื่องดำเนินการถึงขั้นตอนใด รายงานผ่านระบบ MIS ทุก 15 วัน เดือนละ 2 ครัิืง รายงานผู้อำนวยการศูนย์รับ ร้องทุกข์สำนักอนามัย ผู้อำนวยการสำนักงานปลัดกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม - 18 ธันวาคม 2562 ลำดับ ประเภทเรื่องร้องทุกข์ จำนวนเรื่องร้องทุกข์ ดำเนินการเสร็จ ระหว่างดำเนินการ 1 เรื่องร้องทุกข์ประเภทอื่น ๆ 11 9 2 2 การบริหารงานบุคคล 9 5 4 3 อาคาร 1 1 0 4 เหตุเดือดร้อนรำคาญ 285 171 114 รวมทั้งสื้น 306 186 120
เข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ศูนย์ฯ กทม.1555 แจ้งเรื่องให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดำเนินการแก้ไข ตอบรายงานผ่านระบบ MIS ทุกวัน ว่าเรื่องดำเนินการถึงขั้นตอนใด รายงานผ่านระบบ MIS ทุก 15 วัน เดือนละ 2 ครัิืง รายงานผู้อำนวยการศูนย์รับ ร้องทุกข์สำนักอนามัย ผู้อำนวยการสำนักงานปลัดกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม - 18 ธันวาคม 2563 ลำดับที่ ประเภทเรื่องร้องทุกข์ จำนวนเรื่องร้องทุกข์ ดำเนินการเสร็จสื้น ระหว่างดำเนินการ 1 เรื่องร้องทุกข์ประเภทอื่น ๆ 55 15 40 2 การบริหารงานบุคคล 17 11 6 3 อาคาร 1 1 0 4 เหตุเดือดร้อนรำคาญ 665 417 248 รวมทั้งสิ้น 738 444 294
เข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ศูนย์ฯ กทม.1555 แจ้งเรื่องให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดำเนินการแก้ไข ตอบรายงานผ่านระบบ MIS ทุกวัน ว่าเรื่องดำเนินการถึงขั้นตอนใด รายงานผ่านระบบ MIS ทุก 15 วัน เดือนละ 2 ครัิืง รายงานผู้อำนวยการศูนย์รับ ร้องทุกข์สำนักอนามัย ผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1ตุลาคม2562 -16 มิถุนายน 2563 ลำดับ ประเภทเรื่องร้องทุกข์ จำนวนเรื่องร้องทุกข์ ดำเนินการเสร็จ ระหว่างดำเนินการ 1 เรื่องร้องทุกข์ประเภทอื่น ๆ 76 35 41 2 กระทำผิดในที่สาธารณะ 1 0 1 3 เรื่องฉุกเฉิน 6 2 4 4 การบริหารงานบุคคล 28 27 1 5 อาคาร 1 1 0 6 เหตุเดือดร้อนรำคาญ 933 571 362 7 สภาพแวดล้อมเป็นพิษ 1 1 0 8 เสนอแนะ 1 0 1 รวมทั้งสิ้น 1047 637 410
-ตอนใด รายงานผ่านระบบ MIS ทุก 15 วัน เดือนละ 2 ครัิืง ระหว่างวันที่ 1ตุลาคม 2562 - 8 กันยายน 2563 รายงานผู้อำนวยการศุนย์รับร้องทุกข์สำนักอนามัย ผู้อำนวยการสำนักงานปลัดกรุงเทพมหานคร ลำดับ ประเภทเรื่องร้องทุกข์ จำนวนเรื่องร้องทุกข์ ดำเนินการเสร็จ ระหว่างดำเนินการ 1 เรื่องร้องทุกข์ประเภทอื่น ๆ 86 84 2 2 กระทำผิดในที่สาธารณะ 1 1 0 3 เรื่องฉุกเฉิน 10 8 2 4 บริหารงานบุคคล 35 34 1 5 อาคาร 1 1 0 6 เหตุเดือดร้อนรำคาญ 1302 920 382 7 สภาพแวดล้อมเป็นพิษ 2 1 1 8 เสนอแนะ 1 1 0 รวมทั้งสิ้น 1438 1050 368
๗.๓.๑ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพที่เหมาะสม | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :7.00 ผลงาน :4.00 |
เข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ศูนย์ฯ กทม.1555 แจ้งเรื่องให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดำเนินการแก้ไข ตอบรายงานผ่านระบบ MIS ทุกวัน ว่าเรื่องดำเนินการถึงขั้นตอนใด รายงานผ่านระบบ MIS ทุก 15 วัน เดือนละ 2 ครัิืง รายงานผู้อำนวยการศูนย์รับ ร้องทุกข์สำนักอนามัย ผู้อำนวยการสำนักงานปลัดกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม - 18 ธันวาคม 2562 ลำดับ ประเภทเรื่องร้องทุกข์ จำนวนเรื่องร้องทุกข์ ดำเนินการเสร็จ ระหว่างดำเนินการ 1 เรื่องร้องทุกข์ประเภทอื่น ๆ 11 9 2 2 การบริหารงานบุคคล 9 5 4 3 อาคาร 1 1 0 4 เหตุเดือดร้อนรำคาญ 285 171 114 รวมทั้งสื้น 306 186 120
เข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ศูนย์ฯ กทม.1555 แจ้งเรื่องให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดำเนินการแก้ไข ตอบรายงานผ่านระบบ MIS ทุกวัน ว่าเรื่องดำเนินการถึงขั้นตอนใด รายงานผ่านระบบ MIS ทุก 15 วัน เดือนละ 2 ครัิืง รายงานผู้อำนวยการศูนย์รับ ร้องทุกข์สำนักอนามัย ผู้อำนวยการสำนักงานปลัดกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม - 18 ธันวาคม 2563 ลำดับที่ ประเภทเรื่องร้องทุกข์ จำนวนเรื่องร้องทุกข์ ดำเนินการเสร็จสื้น ระหว่างดำเนินการ 1 เรื่องร้องทุกข์ประเภทอื่น ๆ 55 15 40 2 การบริหารงานบุคคล 17 11 6 3 อาคาร 1 1 0 4 เหตุเดือดร้อนรำคาญ 665 417 248 รวมทั้งสิ้น 738 444 294
เข้าระบบเรื่องราวร้องทุกข์ศูนย์ฯ กทม.1555 แจ้งเรื่องให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดำเนินการแก้ไข ตอบรายงานผ่านระบบ MIS ทุกวัน ว่าเรื่องดำเนินการถึงขั้นตอนใด รายงานผ่านระบบ MIS ทุก 15 วัน เดือนละ 2 ครัิืง รายงานผู้อำนวยการศูนย์รับ ร้องทุกข์สำนักอนามัย ผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1ตุลาคม2562 -16 มิถุนายน 2563 ลำดับ ประเภทเรื่องร้องทุกข์ จำนวนเรื่องร้องทุกข์ ดำเนินการเสร็จ ระหว่างดำเนินการ 1 เรื่องร้องทุกข์ประเภทอื่น ๆ 76 35 41 2 กระทำผิดในที่สาธารณะ 1 0 1 3 เรื่องฉุกเฉิน 6 2 4 4 การบริหารงานบุคคล 28 27 1 5 อาคาร 1 1 0 6 เหตุเดือดร้อนรำคาญ 933 571 362 7 สภาพแวดล้อมเป็นพิษ 1 1 0 8 เสนอแนะ 1 0 1 รวมทั้งสิ้น 1047 637 410
-ตอนใด รายงานผ่านระบบ MIS ทุก 15 วัน เดือนละ 2 ครัิืง ระหว่างวันที่ 1ตุลาคม 2562 - 8 กันยายน 2563 รายงานผู้อำนวยการศุนย์รับร้องทุกข์สำนักอนามัย ผู้อำนวยการสำนักงานปลัดกรุงเทพมหานคร ลำดับ ประเภทเรื่องร้องทุกข์ จำนวนเรื่องร้องทุกข์ ดำเนินการเสร็จ ระหว่างดำเนินการ 1 เรื่องร้องทุกข์ประเภทอื่น ๆ 86 84 2 2 กระทำผิดในที่สาธารณะ 1 1 0 3 เรื่องฉุกเฉิน 10 8 2 4 บริหารงานบุคคล 35 34 1 5 อาคาร 1 1 0 6 เหตุเดือดร้อนรำคาญ 1302 920 382 7 สภาพแวดล้อมเป็นพิษ 2 1 1 8 เสนอแนะ 1 1 0 รวมทั้งสิ้น 1438 1050 368
๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :6.00 ผลงาน :4.43 |
1. ร่วมประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2563 2. ประสานเรื่องการกำหนดน้ำหนักคะแนนของข้อคำถาม กับศูนย์บริการสาธารณสุข/หน่วยบริการทางการแพทย์
1. ส่งค่าน้ำหนักคะแนนของข้อคำถามในแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ให้กองงานผู้ตรวจราชการ 2. ประสานการเข้าดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ครั้งที่ 1 กับ สถาบันนัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ (นิด้า) และศูนย์บริการสาธารณสุุข/หน่วยบริการทางการแพทย์ 3. จัดทำหนังสือถึงหัวหน้าส่วนราชการ ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 68 แห่ง และหน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ 2 ขอความร่วมมือดำเนินการทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ที่มีต่อสำนักอนามัย ครั้งที่ 1
1. แจ้งผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ครั้งที่ 1 2. รายงานผลการพัฒนารายงานผลการพัฒนา ปรับปรุงคุณภาพการบริการด้านเว็บไซต์ (website) เฟสบุ๊ค (facebook) ไลน์ (Line) ของศูนย์บริการสาธารณสุข ผ่านระบบ Google Form ส่งกองงานผู้ตรวจราชการ 3. ประสานการเข้าดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ครั้งที่ 2 กับ สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ (นิด้า) และศูนย์บริการสาธารณสุข/หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ 2
1. แจ้งผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 2. ร่วมประชุมรับฟังการสรุปผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
๗.๓.๑ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพที่เหมาะสม | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :6.00 ผลงาน :4.43 |
1. ร่วมประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2563 2. ประสานเรื่องการกำหนดน้ำหนักคะแนนของข้อคำถาม กับศูนย์บริการสาธารณสุข/หน่วยบริการทางการแพทย์
1. ส่งค่าน้ำหนักคะแนนของข้อคำถามในแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ให้กองงานผู้ตรวจราชการ 2. ประสานการเข้าดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ครั้งที่ 1 กับ สถาบันนัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ (นิด้า) และศูนย์บริการสาธารณสุุข/หน่วยบริการทางการแพทย์ 3. จัดทำหนังสือถึงหัวหน้าส่วนราชการ ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 68 แห่ง และหน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ 2 ขอความร่วมมือดำเนินการทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ที่มีต่อสำนักอนามัย ครั้งที่ 1
1. แจ้งผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ครั้งที่ 1 2. รายงานผลการพัฒนารายงานผลการพัฒนา ปรับปรุงคุณภาพการบริการด้านเว็บไซต์ (website) เฟสบุ๊ค (facebook) ไลน์ (Line) ของศูนย์บริการสาธารณสุข ผ่านระบบ Google Form ส่งกองงานผู้ตรวจราชการ 3. ประสานการเข้าดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ครั้งที่ 2 กับ สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ (นิด้า) และศูนย์บริการสาธารณสุข/หน่วยบริการทางการแพทย์ กทม.1 และ 2
1. แจ้งผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 2. ร่วมประชุมรับฟังการสรุปผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :4.00 ผลงาน :4.00 |
1.ทบทวน วิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินอันตรายจากการทำงานคัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงสูงนำมาจัดการความเสี่ยงในการทำงาน 2 งาน 2.คัดเลือกงานที่ได้จัดการความเสี่ยงในปีที่ผ่านมา นำมาต่อยอดพัฒนางาน อย่างน้อย 1 งาน 3.จัดทำโครงการ 4.นำข้อปฏิบัติการใช้งานรถยนต์ราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร เวียนแจ้งและถือปฏิบัติ
1. ขออนุมัติโครงการพัฒนาและจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานของสำนักอนามัย โดยเลือกงาน 3 งาน มาดำเนินการ ได้แก่ - งานต่อยอดพัฒนา ได้แก่ งานจัดทำเอกสารด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ของกองและสำนักงาน - งานที่มีความเสี่ยงสูง ได้แก่ 1) งานฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุง ของกองควบคุมโรคติดต่อ 2) งานจัดส่งเวชภัณฑ์และยา ของกองเภสัชกรรม 2. แจ้งเวียนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ตามหนังสือสำนักอนามัย ที่ กท 0704/8424 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2562 เรื่อง การสนับสนุนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ในส่วนของสำนักอนามัย ดังนี้ 1) กอง สำนักงาน และศูนย์บริการสาธารณสุข นำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน (ข้อปฏิบัติการใช้งานรถยนต์ราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร) เวียนทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน รวมทั้ง ดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้อง 2) กองและสำนักงาน ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานจัดทำเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ 3) ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานทำความสะอาดและจัดเก็บมูลฝอย
1. ขออนุมัติโครงการพัฒนาและจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานของสำนักอนามัย โดยเลือกงาน 3 งาน มาดำเนินการ ได้แก่ - งานต่อยอดพัฒนา ได้แก่ งานจัดทำเอกสารด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ของกองและสำนักงาน - งานที่มีความเสี่ยงสูง ได้แก่ 1) งานฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุง ของกองควบคุมโรคติดต่อ 2) งานจัดส่งเวชภัณฑ์และยา ของกองเภสัชกรรม 2. แจ้งเวียนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ตามหนังสือสำนักอนามัย ที่ กท 0704/8424 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2562 เรื่อง การสนับสนุนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ในส่วนของสำนักอนามัย ดังนี้ 1) กอง สำนักงาน และศูนย์บริการสาธารณสุข นำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน (ข้อปฏิบัติการใช้งานรถยนต์ราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร) เวียนทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน รวมทั้ง ดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้อง 2) กองและสำนักงาน ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานจัดทำเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ 3) ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานทำความสะอาดและจัดเก็บมูลฝอย 3) ประเมินความสำเร็จของโครงการ 4) นำข้อปฏิบัติฯ ไปใช้งานอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมรายงานปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
สำนักอนามัย ดำเนินการตามขั้นตอน 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1. ทบทวน วิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินอันตรายจากการทำงานคัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงสูงนำมาจัดการความเสี่ยงในการทำงาน 2 งาน คัดเลือกงานที่ได้จัดการความเสี่ยงในปีที่ผ่านมา นำมาต่อยอดพัฒนางาน อย่างน้อย 1 งาน และนำข้อปฏิบัติการใช้งานรถยนต์ราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร เวียนแจ้งและถือปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 จัดทำโครงการฯ -ขออนุมัติโครงการพัฒนาและจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานของสำนักอนามัย โดยเลือกงาน 3 งาน มาดำเนินการ ได้แก่ - งานต่อยอดพัฒนา ได้แก่ งานจัดทำเอกสารด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ของกองและสำนักงาน - งานที่มีความเสี่ยงสูง ได้แก่ 1) งานฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุง ของกองควบคุมโรคติดต่อ 2) งานจัดส่งเวชภัณฑ์และยา ของกองเภสัชกรรม 2. แจ้งเวียนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ตามหนังสือสำนักอนามัย ที่ กท 0704/8424 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2562 เรื่อง การสนับสนุนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ในส่วนของสำนักอนามัย ดังนี้ 1) กอง สำนักงาน และศูนย์บริการสาธารณสุข นำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน (ข้อปฏิบัติการใช้งานรถยนต์ราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร) เวียนทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน รวมทั้ง ดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้อง 2) กองและสำนักงาน ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานจัดทำเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ 3) ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานทำความสะอาดและจัดเก็บมูลฝอย ขั้นตอนที่ 3 ประเมินความสำเร็จโครงการ ขั้นตอนที่ 4 นำข้อปฏิบัติฯ เวียนทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน ขั้นตอนที่ 5 ประชาสัมพันธ์ความสำเร็จของโครงการ และสรุปผลการดำเนินงานให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ ตามหนังสือ ที่ กท 0704/921 ลงวันที่ 11 สิงหาคม 2563 เรื่อง รายงานผลการดำเนินงานภาพรวมของโครงการพัฒนาและจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานของสำนักอนามัย ตามตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัยฯ
๗.๓.๑ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพที่เหมาะสม | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :4.00 ผลงาน :4.00 |
1.ทบทวน วิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินอันตรายจากการทำงานคัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงสูงนำมาจัดการความเสี่ยงในการทำงาน 2 งาน 2.คัดเลือกงานที่ได้จัดการความเสี่ยงในปีที่ผ่านมา นำมาต่อยอดพัฒนางาน อย่างน้อย 1 งาน 3.จัดทำโครงการ 4.นำข้อปฏิบัติการใช้งานรถยนต์ราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร เวียนแจ้งและถือปฏิบัติ
1. ขออนุมัติโครงการพัฒนาและจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานของสำนักอนามัย โดยเลือกงาน 3 งาน มาดำเนินการ ได้แก่ - งานต่อยอดพัฒนา ได้แก่ งานจัดทำเอกสารด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ของกองและสำนักงาน - งานที่มีความเสี่ยงสูง ได้แก่ 1) งานฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุง ของกองควบคุมโรคติดต่อ 2) งานจัดส่งเวชภัณฑ์และยา ของกองเภสัชกรรม 2. แจ้งเวียนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ตามหนังสือสำนักอนามัย ที่ กท 0704/8424 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2562 เรื่อง การสนับสนุนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ในส่วนของสำนักอนามัย ดังนี้ 1) กอง สำนักงาน และศูนย์บริการสาธารณสุข นำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน (ข้อปฏิบัติการใช้งานรถยนต์ราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร) เวียนทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน รวมทั้ง ดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้อง 2) กองและสำนักงาน ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานจัดทำเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ 3) ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานทำความสะอาดและจัดเก็บมูลฝอย
1. ขออนุมัติโครงการพัฒนาและจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานของสำนักอนามัย โดยเลือกงาน 3 งาน มาดำเนินการ ได้แก่ - งานต่อยอดพัฒนา ได้แก่ งานจัดทำเอกสารด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ของกองและสำนักงาน - งานที่มีความเสี่ยงสูง ได้แก่ 1) งานฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุง ของกองควบคุมโรคติดต่อ 2) งานจัดส่งเวชภัณฑ์และยา ของกองเภสัชกรรม 2. แจ้งเวียนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ตามหนังสือสำนักอนามัย ที่ กท 0704/8424 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2562 เรื่อง การสนับสนุนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ในส่วนของสำนักอนามัย ดังนี้ 1) กอง สำนักงาน และศูนย์บริการสาธารณสุข นำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน (ข้อปฏิบัติการใช้งานรถยนต์ราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร) เวียนทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน รวมทั้ง ดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้อง 2) กองและสำนักงาน ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานจัดทำเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ 3) ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานทำความสะอาดและจัดเก็บมูลฝอย 3) ประเมินความสำเร็จของโครงการ 4) นำข้อปฏิบัติฯ ไปใช้งานอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมรายงานปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
สำนักอนามัย ดำเนินการตามขั้นตอน 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1. ทบทวน วิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินอันตรายจากการทำงานคัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงสูงนำมาจัดการความเสี่ยงในการทำงาน 2 งาน คัดเลือกงานที่ได้จัดการความเสี่ยงในปีที่ผ่านมา นำมาต่อยอดพัฒนางาน อย่างน้อย 1 งาน และนำข้อปฏิบัติการใช้งานรถยนต์ราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร เวียนแจ้งและถือปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 จัดทำโครงการฯ -ขออนุมัติโครงการพัฒนาและจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานของสำนักอนามัย โดยเลือกงาน 3 งาน มาดำเนินการ ได้แก่ - งานต่อยอดพัฒนา ได้แก่ งานจัดทำเอกสารด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ของกองและสำนักงาน - งานที่มีความเสี่ยงสูง ได้แก่ 1) งานฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุง ของกองควบคุมโรคติดต่อ 2) งานจัดส่งเวชภัณฑ์และยา ของกองเภสัชกรรม 2. แจ้งเวียนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ตามหนังสือสำนักอนามัย ที่ กท 0704/8424 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2562 เรื่อง การสนับสนุนการดำเนินงานตามขั้นตอนตัวชี้วัดที่ 4.2 ในส่วนของสำนักอนามัย ดังนี้ 1) กอง สำนักงาน และศูนย์บริการสาธารณสุข นำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงาน (ข้อปฏิบัติการใช้งานรถยนต์ราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร) เวียนทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน รวมทั้ง ดำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวข้อง 2) กองและสำนักงาน ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานจัดทำเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ 3) ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัด : งานทำความสะอาดและจัดเก็บมูลฝอย ขั้นตอนที่ 3 ประเมินความสำเร็จโครงการ ขั้นตอนที่ 4 นำข้อปฏิบัติฯ เวียนทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน ขั้นตอนที่ 5 ประชาสัมพันธ์ความสำเร็จของโครงการ และสรุปผลการดำเนินงานให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ ตามหนังสือ ที่ กท 0704/921 ลงวันที่ 11 สิงหาคม 2563 เรื่อง รายงานผลการดำเนินงานภาพรวมของโครงการพัฒนาและจัดการปัญหาความเสี่ยงในการทำงานของสำนักอนามัย ตามตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัยฯ
๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :6.00 ผลงาน :6.00 |
รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูล
1. ทบทวนสถานะข้อมูลและฐานข้อมูลเดิม นำเข้าประชุมคณะทำงานติดตามความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล เพื่อชี้แจงแนวทางและขับเคลื่อนการดำเนินงานร่วมกันภายในหน่วยงาน 2. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลจัดลำดับความสำคัญตามแบบฟอร์มที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด ส่งสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 เรียบร้อยแล้ว 3. รอผลการพิจารณากลั่นกรองข้อมูลจากคณะกรรมการฯ 4. อยู่ระหว่างเตรียมการประสาน หารือ เพื่อร่วมพิจารณาว่าจะดำเนินการพัฒนาเครื่องมือเพื่อสร้างข้อมูลด้วยโปรแกรม Excel , Access , My SQL หรือพัฒนาโปรแกรมเดิมที่มีอยู่แล้ว และสามารถเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร ที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด
1. ดำเนินการจัดทำพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictioary) ตัวชี้วัด จำนวน 47 ตัวชี้วัด ซึ่งแบ่งเป็น 5 ภารกิจพื้นฐาน และจัดส่งข้อมูล ให้ สยป. เรียบร้อยแล้วตามระยะเวลาที่กำหนด 2. ดำเนินการนำเข้าข้อมูลตัวชี้วัดทั้ง 47 ตัวชี้วัด โดยมีตารางข้อมูล จำนวน 51 ตาราง ในระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 4.1 เรัียบร้อยตามระยะเวลาที่กำหนด
ข้อมูลตัวชี้วัดของสำนักอนามัย แบ่งเป็น 5 ภารกิจพื้นฐาน มีจำนวนทั้งสิ้น 47 ตัวชี้วัด โดยผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดของแต่ละส่วนราชการได้นำเข้าข้อมูลในระบบบัทึกฐานข้อมูล 4.1 ตามรอบในการรายงาน /ปรับปรุงข้อมูล/ชุดข้อมูล แบ่งออกเป็น 1) วันที่ทำกิจกรรม (รายวัน) จำนวน 6 ตัวชี้วัด 2) รายเดือน จำนวน 21 ตัวชี้วัด 3) รายไตรมาส จำนวน 9 ตัวชี้วัด 4) รายปี จำนวน 11 ตัวชี้วัด 5) อื่นๆ (ภาคเรียน รอบ) จำนวน 3 ตัวชี้วัด ทั้งนี้ ข้อมูลตัวชี้วัดบางตัวจะมีรอบการรายงานทั้ง รายเดือน รายไตรมาส และรายปี