๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :จุด เป้าหมาย :315.00 ผลงาน :316.00 |
การกำหนดจุดตรวจวัดคุณภาพน้ำเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2563 โดยนำผลการวิเคราะห์ความสกปรกในรูปบีโอดีของคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามาจัดลำดับค่าความสกปรก และแจ้งแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลดำเนินการฟื้นฟูสภาพน้ำ อีกทั้งจัดทำแผนที่แสดงคุณภาพน้ำในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการบริหารจัดการน้ำ
การกำหนดจุดตรวจวัดคุณภาพน้ำเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2563 โดยนำผลการวิเคราะห์ความสกปรกในรูปบีโอดีของคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามาจัดลำดับค่าความสกปรก และแจ้งแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลดำเนินการฟื้นฟูสภาพน้ำ อีกทั้งจัดทำแผนที่แสดงคุณภาพน้ำในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการบริหารจัดการน้ำ
การกำหนดจุดตรวจวัดคุณภาพน้ำเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2563 โดยนำผลการวิเคราะห์ความสกปรกในรูปบีโอดีของคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามาจัดลำดับค่าความสกปรก และแจ้งแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลดำเนินการฟื้นฟูสภาพน้ำ อีกทั้งจัดทำแผนที่แสดงคุณภาพน้ำในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการบริหารจัดการน้ำ
ารกำหนดจุดตรวจวัดคุณภาพน้ำเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2563 โดยนำผลการวิเคราะห์ความสกปรกในรูปบีโอดีของคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามาจัดลำดับค่าความสกปรก และแจ้งแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลดำเนินการฟื้นฟูสภาพน้ำ อีกทั้งจัดทำแผนที่แสดงคุณภาพน้ำในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ในการบริหารจัดการน้ำ
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :29.00 ผลงาน :45.73 |
1) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) ไม่น้อยกว่า 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 76 จุด คิดเป็น 24.1% พ.ย.63 114 จุด คิดเป็น 36.1% 2) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลอง และแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) ไม่เกิน 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 35 จุด คิดเป็น 11.1% พ.ย.63 74 จุด คิดเป็น 23.4% 3) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลอง และแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าแอมโมเนียไนโตรเจน (NH3N) ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 49 จุด คิดเป็น 15.6% พ.ย.63 52 จุด คิดเป็น 16.5%
1) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) ไม่น้อยกว่า 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 76 จุด คิดเป็น 24.1% พ.ย.63 114 จุด คิดเป็น 36.1% ธ.ค.63 136 จุด คิดเป็น 43% ม.ค.64 157 จุด คิดเป็น 49.7% ก.พ.64 151 จุด คิดเป็น 47.8% 2) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลอง และแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) ไม่เกิน 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 35 จุด คิดเป็น 11.1% พ.ย.63 74 จุด คิดเป็น 23.4% ธ.ค.63 40 จุด คิดเป็น 12.7% ม.ค.64 42 จุด คิดเป็น 13.3% ก.พ.63 17 จุด คิดเป็น 5.3% 3) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลอง และแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าแอมโมเนียไนโตรเจน (NH3N) ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 49 จุด คิดเป็น 15.6% พ.ย.63 52 จุด คิดเป็น 16.5% ธ.ค.63 44 จุด คิดเป็น 13.9% ม.ค.64 23 จุด คิดเป็น 7.3% ก.พ.64 46 จุด คิดเป็น 14.6%
1) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) ไม่น้อยกว่า 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 76 จุด คิดเป็น 24.1% พ.ย.63 114 จุด คิดเป็น 36.1% ธ.ค.63 136 จุด คิดเป็น 43% ม.ค.64 157 จุด คิดเป็น 49.7% ก.พ.64 151 จุด คิดเป็น 47.8% มี.ค.64 170 จุด คิดเป็น 53.8% เม.ย.64 168 จุด คิดเป็น 53.1% พ.ค.64 166 จุด คิดเป็น 52.5% 2) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลอง และแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) ไม่เกิน 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 35 จุด คิดเป็น 11.1% พ.ย.63 74 จุด คิดเป็น 23.4% ธ.ค.63 40 จุด คิดเป็น 12.7% ม.ค.64 42 จุด คิดเป็น 13.3% ก.พ.64 17 จุด คิดเป็น 5.3% มี.ค.64 17 จุด คิดเป็น 5.3 % เม.ย.64 17 จุด คิดเป็น 5.3 % พ.ค.64 18 จุด คิดเป็น 5.7% 3) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลอง และแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าแอมโมเนียไนโตรเจน (NH3N) ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 49 จุด คิดเป็น 15.6% พ.ย.63 52 จุด คิดเป็น 16.5% ธ.ค.63 44 จุด คิดเป็น 13.9% ม.ค.64 23 จุด คิดเป็น 7.3% ก.พ.64 46 จุด คิดเป็น 14.6% มี.ค.64 47 จุด คิดเป็น 14.9 % เม.ย.64 24 จุด คิดเป็น 7.6 % พ.ค.64 39 จุด คิดเป็น 12.3%
1) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลองและแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าออกซิเจนละลายน้ำ (DO) ไม่น้อยกว่า 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 76 จุด คิดเป็น 24.1% พ.ย.63 114 จุด คิดเป็น 36.1% ธ.ค.63 136 จุด คิดเป็น 43% ม.ค.64 157 จุด คิดเป็น 49.7% ก.พ.64 151 จุด คิดเป็น 47.8% มี.ค.64 170 จุด คิดเป็น 53.8% เม.ย.64 168 จุด คิดเป็น 53.1% พ.ค.64 166 จุด คิดเป็น 52.5% มิ.ย.64 169 จุด คิดเป็น 53.3% ก.ค.64 255 จุด คิดเป็น 50.1% ส.ค.64 262 จุด คิดเป็น 57.3% ก.ย.64 129 จุด คิดเป็น 27.9% เฉลี่ย 45.73% 2) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลอง และแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) ไม่เกิน 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 35 จุด คิดเป็น 11.1% พ.ย.63 74 จุด คิดเป็น 23.4% ธ.ค.63 40 จุด คิดเป็น 12.7% ม.ค.64 42 จุด คิดเป็น 13.3% ก.พ.64 17 จุด คิดเป็น 5.3% มี.ค.64 17 จุด คิดเป็น 5.3 % เม.ย.64 17 จุด คิดเป็น 5.3 % พ.ค.64 18 จุด คิดเป็น 5.7% มิ.ย.64 169 จุด คิดเป็น 3.8% ก.ค.64 255 จุด คิดเป็น 6.3% ส.ค.64 262 จุด คิดเป็น 4.6% ก.ย.64 129 จุด คิดเป็น 7.1% เฉลี่ย 8.66% 3) ร้อยละของจุดตรวจวัดน้ำคลอง และแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าเฉลี่ยของค่าแอมโมเนียไนโตรเจน (NH3N) ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ต.ค.63 49 จุด คิดเป็น 15.6% พ.ย.63 52 จุด คิดเป็น 16.5% ธ.ค.63 44 จุด คิดเป็น 13.9% ม.ค.64 23 จุด คิดเป็น 7.3% ก.พ.64 46 จุด คิดเป็น 14.6% มี.ค.64 47 จุด คิดเป็น 14.9 % เม.ย.64 24 จุด คิดเป็น 7.6 % พ.ค.64 39 จุด คิดเป็น 12.3% มิ.ย.64 169 จุด คิดเป็น 5.0% ก.ค.64 255 จุด คิดเป็น 8.2% ส.ค.64 262 จุด คิดเป็น 8.8% ก.ย.64 129 จุด คิดเป็น 8.5% เฉลี่ย 11.10%
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :ข้อมูลเชิงประจักษ์ เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :1.00 |
รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือน ตุลาคม -ธันวาคม 2563 -มีหนังสือถึงสำนักงานเขตทั้ง 50 เขตให้ตรวจสอบและปรับปรุงฐานข้อมูลฯ
รายงานผลครั้งที่ 2 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-มีนาคม 2564 -สำนักงานเขตทั้ง 50 เขตตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ปรับปรุงฐานข้อมูลฯ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย และทะยอยรายงานผลการดำเนินการมายังสำนักการระบายน้ำ
รายงานผลครั้งที่ 3 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-พฤษภาคม 2564 -สำนักงานเขตทั้ง 50 เขตตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ปรับปรุงฐานข้อมูลฯ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสีย และทะยอยรายงานผลการดำเนินการมายังสำนักการระบายน้ำ
รายงานผลครั้งที่ 4 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-สิงหาคม 2564 -สำนักงานเขตทั้ง 50 เขตรายงานผลการดำเนินการมายังสำนักการระบายน้ำ ครบถ้วน
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :เรื่อง เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :1.00 |
รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือน ตุลาคม-ธันวาคม อยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นระบบสารสนเทศ การจัดการคุณภาพน้ำ กรุงเทพมหานคร
รายงานผลครั้งที่ 2 ระหว่างเดือน มกราคม-มีนาคม อยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นระบบสารสนเทศ การจัดการคุณภาพน้ำ กรุงเทพมหานคร
รายงานผลครั้งที่ 3 ระหว่างเดือน เมษายน-มิถุนายน อยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นระบบสารสนเทศ การจัดการคุณภาพน้ำ กรุงเทพมหานคร
รายงานผลครั้งที่ 4 ระหว่างเดือน กรกฏาคม-กันยายน อยู่ระหว่างดำเนินการทดลองการใช้งานเว็บแอปพลิเคชั่นระบบสารสนเทศ การจัดการคุณภาพน้ำ กรุงเทพมหานคร
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :6.50 ผลงาน :8.55 |
รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือน ตุลาคม-ธันวาคม ปริมาณน้ำเข้าระบบปีงบ 64(ต.ค.-พ.ย.62) เท่ากับ 58,419,129 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 3,620,454 ลบ.ม. เฉลี่ย 59,352 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 6.20
รายงานผลครั้งที่ 2 เดือน ตุลาคม2563-มีนาคม 2564 ปริมาณน้ำเข้าระบบปีงบ 64(ต.ค.63-ก.พ.64) เท่ากับ 133,711,950 ลบม.ปริมาณน้ำรียูสรวม 9,376,834 ลบ.ม. เฉลี่ย 62,098 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 7.01 อยู่ระหว่างขั้นตอนการแจกจ่ายน้ำรียูสให้กับหน่วยงานต่างๆ
รายงานผลครั้งที่ 3 เดือน ตุลาคม2563-พฤษภาคม 2564 ปริมาณน้ำเข้าระบบปีงบ 64(ต.ค.63-พ.ค.64) เท่ากับ 201,673,532 ลบม.ปริมาณน้ำรียูสรวม 16,689,973 ลบ.ม. เฉลี่ย 68,683 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.28 อยู่ระหว่างขั้นตอนการแจกจ่ายน้ำรียูสให้กับหน่วยงานต่างๆ
รายงานผลครั้งที่ 4 เดือน ตุลาคม2563-สิงหาคม 2564 ปริมาณน้ำเข้าระบบเดือน ส.ค.64 เท่ากับ 28,383,011 ลบ.ม.ปริมาณน้ำรียูส 2,445,600 ลบ.ม. หรือ 78,890 ลบ.ม./วัน คิดเป็นร้อยละ 8.61 รวมน้ำเข้าปีงบ 64 สะสม ต.ค.63-ส.ค.64 เท่ากับ 279,940,305 ลบม. ปริมาณน้ำรียูสรวม 23,934,062 ลบ.ม. เฉลี่ย 71,445 ลบ.ม./วัน คิดสะสมเป็นร้อยละ 8.55 อยู่ระหว่างขั้นตอนการแจกจ่ายน้ำรียูสให้กับหน่วยงานต่างๆ
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :ฐานข้อมูล เป้าหมาย :10.00 ผลงาน :3.00 |
รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือน ตุลาคม-ธันวาคม ผู้รับจ้างปฏิบัติงานตามสัญญาในงวดงานที่ 1 (ระยะเวลาดำเนินการ 90 วัน) เริ่มสัญญาวันที่ 6 พ.ย.63 และอยู่ระหว่างการประสานงานกับการประปานครหลวงเพื่อเซ็นต์MOUร่วมกันในการแลกเปลี่ยนข้อมูล
รายงานผลครั้งที่ 2เดือน ตุลาคม 2563-มีนาคม 2564 ผู้รับจ้างส่งมอบงานงวดที่ 1 เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างปฏิบัติงานตามสัญญาในงวดงานที่ 2 (ระยะเวลาดำเนินการ 180 วัน) อยู่ระหว่างการประสานงานกับการประปานครหลวงเพื่อเซ็นต์MOUร่วมกันในการแลกเปลี่ยนข้อมูล
รายงานผลครั้งที่ 3 เดือน ตุลาคม 2563-พฤษภาคม 2564 เบิกจ่ายเงินค่าจ้างงานงวดที่ 1ให้แก่ผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว ยอดเงิน 4,220,000บาท และอยู่ระหว่างขยายสัญญาปฏิบัติงานในงวดงานที่ 2 เนื่องจาก ผู้รับจ้างต้องใช้ข้อมูลจากการประปานครหลวงในการดำเนินการ และกรุงเทพมหานคร เพิ่งได้รับความเห็นชอบร่าง MOU จากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2564 อยู่ระหว่างประสานงานการประปานครหลวงเพื่อเซ็นต์MOUร่วมกันในการแลกเปลี่ยนข้อมูล
รายงานผลครั้งที่ 4 เดือน ตุลาคม 2563-สิงหาคม 2564 เบิกจ่ายเงินค่าจ้างงานงวดที่ 1ให้แก่ผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว ยอดเงิน 4,220,000บาท และอยู่ระหว่างขยายสัญญาปฏิบัติงานในงวดงานที่ 2 เนื่องจาก ผู้รับจ้างต้องใช้ข้อมูลจากการประปานครหลวงในการดำเนินการ และกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างประสานงานการประปานครหลวงเพื่อเซ็นต์MOUร่วมกันในการแลกเปลี่ยนฐานข้อมูลผู้ใช้น้ำ ทำให้ข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ 10 ทำได้เพียง 3 ข้อ เพราะส่วนใหญ่ต้องใช้ฐานข้อมูลผู้ใช้น้ำเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการดำเนินการต่อ
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :บริษัท เป้าหมาย :10.00 ผลงาน :17.00 |
รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2563 -โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนร่วมทุนและลงทุนดำเนินโครงการบำบัดน้ำเสียคลองเตย และ โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนร่วมลงทุนและดำเนินโครงการบำบัดน้ำเสียบึงหนองบอน อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารเพื่อของบประมาณจากกองทุนฯ
รายงานผลครั้งที่ 2 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-มีนาคม 2564 -โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนร่วมทุนและลงทุนดำเนินโครงการบำบัดน้ำเสียคลองเตย และ โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนร่วมลงทุนและดำเนินโครงการบำบัดน้ำเสียบึงหนองบอน อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารเพื่อของบประมาณจากกองทุนฯ -กิจกรรมสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมกับภาคเอกชนในการบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย มีภาคเอกชนและหน่วยงานที่เข้าร่วมกิจกรรมการมีส่วนร่วม จำนวน 2 ราย
รายงานผลครั้งที่ 3 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-พฤษภาคม 2564 -โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนร่วมทุนและลงทุนดำเนินโครงการบำบัดน้ำเสียคลองเตย อยู่ระหว่างทำหนังสือยืนยันการรับจัดสรรเงินจากกองทุนฯ และปรับปรุงเอกสารที่เกี่ยวข้อง และ โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนร่วมลงทุน และโครงการบำบัดน้ำเสียบึงหนองบอน อยู่ระหว่างทำหนังสือยืนยันการรับจัดสรรเงินจากกองทุนฯ และปรับปรุงเอกสารที่เกี่ยวข้อง -กิจกรรมสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมกับภาคเอกชนในการบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย มีภาคเอกชนและหน่วยงานที่เข้าร่วมกิจกรรมการมีส่วนร่วม จำนวน 17 ราย
รายงานผลครั้งที่ 4 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-สิงหาคม 2564 -โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนร่วมทุนและลงทุนดำเนินโครงการบำบัดน้ำเสียคลองเตย อยู่ระหว่างดำเนินการลงนามใน TOR ของคณะกรรมการ และ โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเป็นไปได้ในการให้เอกชนร่วมลงทุนและดำเนินโครงการบำบัดน้ำเสียบึงหนองบอน อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจสอบวัตถุประสงค์ของการใช้ที่ดิน ตามข้อเสนอแนะของ สคร. -กิจกรรมสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมกับภาคเอกชนในการบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย มีภาคเอกชนและหน่วยงานที่เข้าร่วมกิจกรรมการมีส่วนร่วมจำนวน 17 ราย
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :50.00 ผลงาน :53.14 |
รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือน ตุลาคม-ธันวาคม ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ
รายงานผลครั้งที่ 2 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-มีนาคม 2564 ค่าเฉลี่ยความก้าวหน้าโครงการที่เกี่ยวข้องกับระบบบำบัดน้ำเสียต่างๆ ทั้งโครงการก่อสร้างและจ้างที่ปรึกษา มีค่าเฉลี่ยของทุกโครงการร้อยละ 26
รายงานผลครั้งที่ 3 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-พฤษภาคม 2564 ค่าเฉลี่ยความก้าวหน้าโครงการที่เกี่ยวข้องกับระบบบำบัดน้ำเสียต่างๆ ทั้งโครงการก่อสร้างและจ้างที่ปรึกษา มีค่าเฉลี่ยของทุกโครงการร้อยละ 37.4
รายงานผลครั้งที่ 4 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-สิงหาคม 2564 ค่าเฉลี่ยความก้าวหน้าโครงการที่เกี่ยวข้องกับระบบบำบัดน้ำเสียต่างๆ ทั้งโครงการก่อสร้างและจ้างที่ปรึกษา มีค่าเฉลี่ยของทุกโครงการร้อยละ 53.14
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2563 อยู่ระหว่างการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รายงานผลครั้งที่ 2 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-มีนาคม 2564 อยู่ระหว่างการ รณรงค์ประชาสัมพันธ์ใน 4 ด้าน 1. ส่งเสริมการประหยัดน้ำใช้เพื่อลดปริมาณน้ำเสีย 2.ส่งเสริมการบำบัดน้ำเสียขั้นต้นจากครัวเรือน 3.มีการส่งเสริมการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียให้แก่สถานประกอบการ 4.มีการส่งเสริมการนำน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วหมุนเวียนกลับมาใช้
รายงานผลครั้งที่ 3 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-พฤษภาคม 2564 อยู่ระหว่างการ รณรงค์ประชาสัมพันธ์ใน 4 ด้าน 1. ส่งเสริมการประหยัดน้ำใช้เพื่อลดปริมาณน้ำเสีย 2.ส่งเสริมการบำบัดน้ำเสียขั้นต้นจากครัวเรือน 3.มีการส่งเสริมการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียให้แก่สถานประกอบการ 4.มีการส่งเสริมการนำน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วหมุนเวียนกลับมาใช้
รายงานผลครั้งที่ 4 ระหว่างเดือน ตุลาคม 2563-สิงหาคม 2564 ดำเนินการ รณรงค์ประชาสัมพันธ์ใน 4 ด้าน 1. ส่งเสริมการประหยัดน้ำใช้เพื่อลดปริมาณน้ำเสีย 2.ส่งเสริมการบำบัดน้ำเสียขั้นต้นจากครัวเรือน 3.มีการส่งเสริมการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียให้แก่สถานประกอบการ 4.มีการส่งเสริมการนำน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วหมุนเวียนกลับมาใช้
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :91.00 |
รายงานผลครั้งที่ 1 ระหว่างเดือน ตุลาคม-ธันวาคม อยู่ระหว่างดำเนินการเดินระบบ ร้อยละ 26.4
รายงานผลครั้งที่ 2 เดือน ตุลาคม 2563- มีนาคม 2564 อยู่ระหว่างดำเนินการเดินระบบ ค่าเฉลี่ยความก้าวหน้าของทุกโครงการ ณ มีนาคม 2564 ร้อยละ 51.0
รายงานผลครั้งที่ 3 เดือน เมษายน 2564- มิถุนายน 2564 อยู่ระหว่างดำเนินการเดินระบบ ค่าเฉลี่ยความก้าวหน้าของทุกโครงการ ณ มิถุนายน 2564 ร้อยละ 68.0
รายงานผลครั้งที่ 4 เดือน กรกฏาคม 2564- กันยายน 2564 อยู่ระหว่างดำเนินการเดินระบบ ค่าเฉลี่ยความก้าวหน้าของทุกโครงการ ณ มิถุนายน 2564 ร้อยละ 91.0
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :89.00 |
ได้ตัวผู้รับจ้างแล้ว คือ บริษัทปัญญา คอนซัลแตนท์ จำกัด ตามสัญญาเลขที่ กสน.สนน. 5/2564 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2563 วงเงิน 118,955,000 บาท (งบประมาณปี 2564 จำนวน 50,000,000 บาท)
สำรวจข้อมูลบ่อสูบน้ำ/บ่อหน่วงน้ำใต้ดิน แล้วเสร็จจำนวน 176 บ่อ จากทั้งหมด 300 บ่อ
- งานสำรวจคลองสายหลัก ดำเนินการได้ 100% - งานสำรวจบ่อสูบ ดำเนินการได้ 100% - งานจัดทำฐานข้อมูล GIS ดำเนินการได้ 74% - จัดทำระบบบริหารจัดการน้ำเชิงรุก ดำเนินการได้ 57%
- งานจัดทำฐานข้อมูล GIS ดำเนินการได้ 95% - งานจัดทำระบบบริหารจัดการน้ำเชิงรุก ดำเนินการได้ 68% - เบิกจ่ายเงินงวดที่ 1 เป็นเงิน 11,895,500 บาท (วันที่ 15 มี.ค. 64) - เบิกจ่ายเงินงวดที่ 2 เป็นเงิน 29,738,750 บาท (วันที่ 4 ก.ย. 64) - เบิกจ่ายเงินงวดที่ 3 เป็นเงิน 17,843,250 (วันที่ 2 ก.ย. 64)
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ...ของพื้นที่ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :100.00 |
แนวป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย คลองมหาสวัสดิ์ คลองชักพระ และคลองพระโขนง มีความยาวริมตลิ่งประมาณ 87.93 กิโลเมตร เป็นแนวป้องกันตนเอง ประมาณ 9.00 กิโลเมตร สำนักการระบายน้ำดำเนินการก่อสร้างแนวป้องกันน้ำท่วมแล้วเสร็จ ประมาณ 78.93 กิโลเมตร โดยสามารถป้องกันน้ำท่วม เนื่องจากน้ำหลากและน้ำหนุนที่ระดับความสูง +3.00 ม. รทก. ณ จุดวัดระดับน้ำปากคลองตลาดได้ 100 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ที่มีแนวป้องกันน้ำท่วม
แนวป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย คลองมหาสวัสดิ์ คลองชักพระ และคลองพระโขนง มีความยาวริมตลิ่งประมาณ 87.93 กิโลเมตร เป็นแนวป้องกันตนเอง ประมาณ 9.00 กิโลเมตร สำนักการระบายน้ำดำเนินการก่อสร้างแนวป้องกันน้ำท่วมแล้วเสร็จ ประมาณ 78.93 กิโลเมตร โดยสามารถป้องกันน้ำท่วม เนื่องจากน้ำหลากและน้ำหนุนที่ระดับความสูง +3.00 ม. รทก. ณ จุดวัดระดับน้ำปากคลองตลาดได้ 100 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ที่มีแนวป้องกันน้ำท่วม
แนวป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย คลองมหาสวัสดิ์ คลองชักพระ และคลองพระโขนง มีความยาวริมตลิ่งประมาณ 87.93 กิโลเมตร เป็นแนวป้องกันตนเอง ประมาณ 9.00 กิโลเมตร สำนักการระบายน้ำดำเนินการก่อสร้างแนวป้องกันน้ำท่วมแล้วเสร็จ ประมาณ 78.93 กิโลเมตร โดยสามารถป้องกันน้ำท่วม เนื่องจากน้ำหลากและน้ำหนุนที่ระดับความสูง +3.00 ม. รทก. ณ จุดวัดระดับน้ำปากคลองตลาดได้ 100 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ที่มีแนวป้องกันน้ำท่วม
แนวป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย คลองมหาสวัสดิ์ คลองชักพระ และคลองพระโขนง มีความยาวริมตลิ่งประมาณ 87.93 กิโลเมตร เป็นแนวป้องกันตนเอง ประมาณ 9.00 กิโลเมตร สำนักการระบายน้ำดำเนินการก่อสร้างแนวป้องกันน้ำท่วมแล้วเสร็จ ประมาณ 78.93 กิโลเมตร โดยสามารถป้องกันน้ำท่วม เนื่องจากน้ำหลากและน้ำหนุนที่ระดับความสูง +3.00 ม. รทก. ณ จุดวัดระดับน้ำปากคลองตลาดได้ 100 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ที่มีแนวป้องกันน้ำท่วม
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ..ของขั้นตอนงานก่อสร้าง เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :10.00 |
ไม่ได้รับงบประมาณ พ.ศ. 2564
ไม่ได้รับงบประมาณ พ.ศ. 2564
ไม่ได้รับงบประมาณ พ.ศ. 2564
ไม่ได้รับงบประมาณ พ.ศ. 2564
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :แห่ง เป้าหมาย :6.00 ผลงาน :2.00 |
โครงการก่อสร้างแก้มลิงเบญจกิติ มีความก้าวหน้า 92% อยู่ระหว่างขุดลอกแก้มลิงพร้อมขนย้ายดิน และรอติดตั้งเครื่องกลปั๊มน้ำ โครงการก่อสร้างแก้มลิงสวนน้ำเสรีไทย ช่วงคลองระหัสถึงคลองครุ มีความก้าวหน้า 10% อยู่ระหว่างขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดร่างขอบเขตของงาน
โครงการก่อสร้างแก้มลิงเบญจกิติ มีความก้าวหน้า 93% อยู่ระหว่างขุดลอกแก้มลิงพร้อมขนย้ายดิน และรอติดตั้งเครื่องกลปั๊มน้ำ โครงการก่อสร้างแก้มลิงสวนน้ำเสรีไทย ช่วงคลองระหัสถึงคลองครุ มีความก้าวหน้า 10% อยู่ระหว่างดำเนินการจัดทำ TOR และกำหนดราคากลาง
โครงการก่อสร้างแก้มลิงเบญจกิติ มีความก้าวหน้า 98% อยู่ระหว่างรอติดตั้งเครื่องกลปั๊มน้ำ โครงการก่อสร้างแก้มลิงสวนน้ำเสรีไทย ช่วงคลองระหัสถึงคลองครุ (ครั้งที่ 2) มีความก้าวหน้า 10% อยู่ระหว่างดำเนินการจ้างเหมาและคาดว่าจะลงนามในสัญญาเดือน สิงหาคม 2564
โครงการก่อสร้างแก้มลิงเบญจกิติ มีความก้าวหน้า 98% อยู่ระหว่างรอติดตั้งเครื่องกลปั๊มน้ำ โครงการก่อสร้างแก้มลิงสวนน้ำเสรีไทย ช่วงคลองระหัสถึงคลองครุ (ครั้งที่ 2) มีความก้าวหน้า 40% ลงนามสัญญาจ้าง เดือนกันยายน 2564
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ไม่เกิน...นาที เป้าหมาย :120.00 ผลงาน :460.00 |
- ทุกโ่ครงการสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย - จากสถิติการระบายน้ำในถนนสายหลักระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 63 – 31 ธ.ค. 63 ที่ความเข้มฝนไม่เกิน 100 มม./ชม. ระยะเวลาในการบริหารจัดการน้ำรอการระบายสูงสุดเป็นเวลา 120 นาที (จุดที่สูงสุดบริเวณ ถ.เซนต์หลุยส์ 3 จาก ถ.จันทน์-ชุมชนกุศลทอง เขตสาทร ณ วันที่ 21 พ.ย. 63)
- ทุกโ่ครงการสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย - จากสถิติการระบายน้ำในถนนสายหลักระหว่างวันที่ 1 ม.ค. 64-31 มี.ค. 64 ที่ฝนตกความเข้มฝนไม่เกิน 100 มม./ชม. ระยะเวลาในการบริหารจัดการน้ำรอการระบายสูงสุดเป็นเวลา 35 นาที (จุดที่สูงสุดคือบริเวณถ.พระราม 6 จากตึกชัย-ถ.ศรีอยุธยา เขตราชเทวี ณ วันที่ 10 มี.ค. 64)
- ทุกโ่ครงการสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย - จากสถิติการระบายน้ำในถนนสายหลักระหว่างวันที่ 1 เม.ย. 64-30 มิ.ย. 64 ที่ฝนตกความเข้มฝนไม่เกิน 100 มม./ชม. ระยะเวลาในการบริหารจัดการน้ำรอการระบายสูงสุดเป็นเวลา 460 นาที (จุดที่สูงสุดคือบริเวณถ.พัฒนาการ บริเวณบ่อสูบน้ำคลองลาว เขตสวนหลวง ณ วันที่ 19 พ.ค. 64) หมายเหตุ: จุดที่สูงสุดดังกล่าวเกิดเสาไฟฟ้าล้ม ทำให้ไฟฟ้าดับ มีผลกระทบกับบ่อสูบน้ำคลองลาว)
- ทุกโ่ครงการสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย - จากสถิติการระบายน้ำในถนนสายหลักระหว่างวันที่ 1 ก.ค. 64-30 ก.ย. 64 ที่ฝนตกความเข้มฝนไม่เกิน 100 มม./ชม. ระยะเวลาในการบริหารจัดการน้ำรอการระบายสูงสุดเป็นเวลา 170 นาที (จุดที่สูงสุดคือบริเวณ ถ.ท่าข้าม (ท่าข้าม ซ.6 ถึงฝั่งตรงข้าม ซ.5) เขตบางขุนเทียน ณ วันที่ 31 ส.ค. 64)) หมายเหตุ: จุดที่สูงสุดดังกล่าว เอกชนสูบระบายน้ำมาในถนน นำรถโมบายยูนิตเข้าไปแก้ไขเวลา 16.00 น.
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :คลอง เป้าหมาย :32.00 ผลงาน :0.00 |
ทุกโครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 13.33
ทุกโครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 13.33
ทุกโครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 13.33
ทุกโครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 13.33
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ..ของขั้นตอนการจัดทำแผนหลัก เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :10.00 |
ไม่ได้รับงบประมาณ พ.ศ. 2564
ไม่ได้รับงบประมาณ พ.ศ. 2564
ไม่ได้รับงบประมาณ พ.ศ. 2564
ไม่ได้รับงบประมาณ พ.ศ. 2564
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :แนวคลอง เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :17.00 |
- 21โครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 20.76 - แล้วเสร็จ จำนวน 1 โครงการ (คลองบางอ้อ)
- 20โครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 53.10 - แล้วเสร็จ จำนวน 2 โครงการ (คลองบางอ้อ , ขุดลอกคูน้ำข้าง โรงพยาบาลรถไฟมักกะสัน
- 9 โครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 70.44 - แล้วเสร็จ จำนวน 13 โครงการ (ขุดลอกคลอง หัวหมาก โครงการก่อสร้างเขื่อนดาดท้องคลอง ขุดลอกคลองหัวลำโพงเก่า ขุดลอกคลองกะจะ ขุดลอกคลองเรือนจำกลางคลองเปรม ลอกคลองบ้านป่า ลอกคลองภาษีเจริญ ข้างโรงพยาบาลไฟมักกะสัน ลอกคลองสะแก ลอกคลองบางขี้เก้ง ลอกคลองบางโพ ลอกคลองขรัวตาแก่น ลอกคลองวัดสิงห์
- 5 โครงการสามารถดำเนินการโดยเฉลี่ยได้ร้อยละ 68.40 - แล้วเสร็จ จำนวน 17 โครงการ (ขุดลอกคลองหัวหมาก โครงการก่อสร้างเขื่อนดาดท้องคลอง ขุดลอกคลองหัวลำโพงเก่า ขุดลอกคลองกะจะ ขุดลอกคลองเรือนจำกลางคลองเปรม ลอกคลองบ้านป่า ลอกคลองภาษีเจริญ ข้างโรงพยาบาลไฟมักกะสัน ลอกคลองสะแก ลอกคลองบางขี้เก้ง ลอกคลองบางโพ ลอกคลองขรัวตาแก่น ลอกคลองวัดสิงห์ โครงการสร้างเขื่อนสำรางสาธารณะ17 คลองศาลาลอยบน ลองคลองลาว ลอกคลองศาลาลองล่าง
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :99.00 |
อยู่ระหว่างรายงานความเห็นชอบให้ดำเนินการจัดจ้าง
อยู่ระหว่างยกเลิกประกาศประกวดราคาและทบทวนร่างขอบเขตใหม่ตามระเบียบ ว89 ปรับลดเปอร์เซ็นต์ จาก 39% เป็น 30% เนื่องจากทำการทบทวนร่างขอบเขตใหม่ตามระเบียบ ว89 (แนวทางปฏิบัติตามกฎกระทรวงกำหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563)
อยู่ระหว่างขออนุมัติจ้างดำเนินงาน
ดำเนินการแล้วเสร็จ อยู่ระหว่างรอเบิกเงิน
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
ลำดับที่ 1 ดำเนินการจัดเตรียมเครื่องสูบน้ำและอุปกรณ์ในการสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขตต่าง ๆ ลำดับที่ 2 ดำเนินการจัดเตรียมเครื่องสูบน้ำ เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนการติดตั้งและตรวจสอบประจำปี ลำดับที่ 3 ดำเนินการซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล แล้วเสร็จ 45 งาน
ลำดับที่ 1 ดำเนินการสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขตต่าง ๆ แล้วเสร็จ 160 เครื่อง ลำดับที่ 2 ดำเนินการติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนการติดตั้งและตรวจสอบประจำปี แล้วเสร็จ 314 จุด ลำดับที่ 3 ซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล แล้วเสร็จ 245 งาน
ลำดับที่ 1 ดำเนินการสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขตต่าง ๆ แล้วเสร็จ 160 เครื่อง (ครบถ้วนตามแผน) ลำดับที่ 2 ดำเนินการติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนการติดตั้งและตรวจสอบประจำปี แล้วเสร็จ 340 จุด (ครบถ้วนตามแผน) ลำดับที่ 3 ซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล แล้วเสร็จ 404 งาน
ลำดับที่ 1 ดำเนินการสนับสนุนเครื่องสูบน้ำแก่สำนักงานเขตต่าง ๆ แล้วเสร็จ 160 เครื่อง (ครบถ้วนตามแผน) ลำดับที่ 2 ดำเนินการติดตั้งและตรวจสอบเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำตามแผนการติดตั้งและตรวจสอบประจำปี แล้วเสร็จ 340 จุด (ครบถ้วนตามแผน) ลำดับที่ 3 ซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำและเครื่องจักรกล แล้วเสร็จ 500 งาน (ครบถ้วนตามแผน)