๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :1 คลอง เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :100.00 |
ผลการดำเนินการตุลาคม -ธันวาคม 2563 1.สำรวจและรวบรวมข้อมูลสภาพทั่วไปของคลอง 2.จัดทำแผนพัฒนาคลองเป้าหมายจำนวน 1 คลองได้แก่คลองลาดพร้าว 3.ดำเนินการพัฒนาคลองลาดพร้าว โดยปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลอง ทาสีราวเหล็กกันตก ปรับปรุงสะพานข้ามคลอง
ผลการดำเนินการมกราคม -มีนาคม 2564 องค์ประกอบที่ 1 ความสวยงาม 1.คลองมีการพัฒนาสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์และสร้างจุดเช็คอิน อย่างน้อยเขตละ 1 จุด/คลอง -มีการสร้างจุดเช็คอิน 1 จุด ได้แก่ บริเวณวัดบางบัว -มีการสร้างสถานที่พักผ่อนริมคลอง 1 จุด บริเวณสวนสาธารณะ ริมถนนผลาสินธุ์ 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองให้เกิดความสวยงาม -ทาสีราวสะพานริมคลองทางเดิน ตั้งแต่คลองหลุมไผ่ถึงวัดบางบัว ระยะทางประมาณ 900 เมตร องค์ประกอบที่ 2 ด้านความสะอาด 2.1 ขยะในชุมชนริมคลองได้รับการบริหารจัดการอย่างเหมาะสมเพื่อไม่ให้ประชาชนมีการทิ้งขยะลงในคลอง -มีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ -ผ่านทางเว็บไซด์หน่วยงาน / Facebook / Line ชุมชนและการจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ -มีการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย -เดินรณรงค์ให้ความรู้กับชุมชน เรื่อง การบริหารจัดการขยะ และไม่ทิ้งขยะลงคลอง -การจัดทำประกาศรณรงค์การไม่ทิ้งขยะลงคู คลอง แหล่งน้ำ 2.2 สร้างเครือข่ายในการอนุรักษ์ คู คลอง แหล่งน้ำ อย่างน้อย 5 เครือข่าย 2.3 จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาความสะอาด ริมคลอง องค์ประกอบที่ 3 ด้านความปลอดภัย 3.1 เส้นทางริมคลองมีแสงสว่างอย่างเหมาะสมในเวลากลางคืน -มีการสำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลอง -มีการประสานการฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลองตามที่ได้มีการสำรวจ 3.2 ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจเฝ้าระวังการกระทำผิดในบริเวณพื้นที่สาธารณะในพื้นที่ที่กำหนด -สำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งกล้องวงจรปิด CCTV จำนวน 3 จุด 3.2.1 บริเวณสวนสาธารณะผลาสินธุ์ จำนวน 1 จุด 3.2.2 บริแวณชุมชนสามัคคีรร่วมใจ จำนวน 1 จุด 3.2.3 บริเวณชุมชนบางบัว จำนวน 1 จุด
ผลการดำเนินการตั้งแต่เดือนเมษายน -มิถุนายน 2564 องค์ประกอบที่ 1 ความสวยงาม 1.คลองมีการพัฒนาสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์และสร้างจุดเช็คอิน อย่างน้อยเขตละ 1 จุด/คลอง -มีการสร้างจุดเช็คอิน 1 จุด ได้แก่ บริเวณวัดบางบัว -มีการสร้างสถานที่พักผ่อนริมคลอง 1 จุด บริเวณสวนสาธารณะ ริมถนนผลาสินธุ์ 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองให้เกิดความสวยงาม -ทาสีราวสะพานริมคลองทางเดิน ตั้งแต่คลองหลุมไผ่ถึงวัดบางบัว ระยะทางประมาณ 900 เมตร องค์ประกอบที่ 2 ด้านความสะอาด 2.1 ขยะในชุมชนริมคลองได้รับการบริหารจัดการอย่างเหมาะสมเพื่อไม่ให้ประชาชนมีการทิ้งขยะลงในคลอง -มีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ -ผ่านทางเว็บไซด์หน่วยงาน / Facebook / Line ชุมชนและการจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ -มีการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย -เดินรณรงค์ให้ความรู้กับชุมชน เรื่อง การบริหารจัดการขยะ และไม่ทิ้งขยะลงคลอง -การจัดทำประกาศรณรงค์การไม่ทิ้งขยะลงคู คลอง แหล่งน้ำ 2.2 สร้างเครือข่ายในการอนุรักษ์ คู คลอง แหล่งน้ำ อย่างน้อย 5 เครือข่าย 2.3 จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาความสะอาด ริมคลอง องค์ประกอบที่ 3 ด้านความปลอดภัย 3.1 เส้นทางริมคลองมีแสงสว่างอย่างเหมาะสมในเวลากลางคืน -มีการสำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลอง -มีการประสานการฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลองตามที่ได้มีการสำรวจ 3.2 ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจเฝ้าระวังการกระทำผิดในบริเวณพื้นที่สาธารณะในพื้นที่ที่กำหนด -สำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งกล้องวงจรปิด CCTV จำนวน 3 จุด 3.2.1 บริเวณสวนสาธารณะผลาสินธุ์ จำนวน 1 จุด 3.2.2 บริแวณชุมชนสามัคคีรร่วมใจ จำนวน 1 จุด 3.2.3 บริเวณชุมชนบางบัว จำนวน 1 จุด
ผลการดำเนินการตั้งแต่เดือนกรกฎาคม -กันยายน 2564 องค์ประกอบที่ 1 ความสวยงาม 1.คลองมีการพัฒนาสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์และสร้างจุดเช็คอิน อย่างน้อยเขตละ 1 จุด/คลอง -มีการสร้างจุดเช็คอิน 2 จุด ได้แก่ บริเวณวัดบางบัว และชุมชนบางบัว -มีการสร้างสถานที่พักผ่อนริมคลอง 1 จุด บริเวณสวนสาธารณะ ริมถนนผลาสินธุ์ 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองให้เกิดความสวยงาม -ทาสีราวสะพานริมคลองทางเดิน ตั้งแต่คลองหลุมไผ่ถึงวัดบางบัว ระยะทางประมาณ 900 เมตร องค์ประกอบที่ 2 ด้านความสะอาด 2.1 ขยะในชุมชนริมคลองได้รับการบริหารจัดการอย่างเหมาะสมเพื่อไม่ให้ประชาชนมีการทิ้งขยะลงในคลอง -มีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ -ผ่านทางเว็บไซด์หน่วยงาน / Facebook / Line ชุมชนและการจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ -มีการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย -เดินรณรงค์ให้ความรู้กับชุมชน เรื่อง การบริหารจัดการขยะ และไม่ทิ้งขยะลงคลอง -การจัดทำประกาศรณรงค์การไม่ทิ้งขยะลงคู คลอง แหล่งน้ำ 2.2 สร้างเครือข่ายในการอนุรักษ์ คู คลอง แหล่งน้ำ อย่างน้อย 5 เครือข่าย 2.3 จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาความสะอาด ริมคลอง องค์ประกอบที่ 3 ด้านความปลอดภัย 3.1 เส้นทางริมคลองมีแสงสว่างอย่างเหมาะสมในเวลากลางคืน -มีการสำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลอง -มีการประสานการฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณทางเดินริมคลองตามที่ได้มีการสำรวจ 3.2 ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจเฝ้าระวังการกระทำผิดในบริเวณพื้นที่สาธารณะในพื้นที่ที่กำหนด -สำรวจสถานที่เพื่อติดตั้งกล้องวงจรปิด CCTV จำนวน 3 จุด 3.2.1 บริเวณสวนสาธารณะผลาสินธุ์ จำนวน 1 จุด 3.2.2 บริแวณชุมชนสามัคคีรร่วมใจ จำนวน 1 จุด 3.2.3 บริเวณชุมชนบางบัว จำนวน 1 จุด
๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1 | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ 30 เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :0.00 |
-ดำเนินการตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกแยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช 1.ปริมาณมูลฝอยที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 1599.83 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 1577.20 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 1667.55 ตัน รวมจัดเก็บขยะนำกลับมาใช้ประโยชน์ จำนวน 4844.58 ตัน 2. ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 439.70 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 423.70 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 459.20 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยอินทรีย์ จำนวน 1322.60 ตัน
คัดแยกมูลฝอยจากแหล่งกำเนิดและ นำกลับไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1.มูลฝอยรีไซเคิล = 11,505 ตัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ = 3,433 ตัน ผลการดำเนินงาน =14,938 ตัน หรือ คิดเป็นร้อยละ 14.13 ของเป้าหมาย (ข้อมูลเดือนกุมภาพันธ์ 2564)
ได้นำเอาเปลือกผักผลไม้จากตลาดในพื้นที่มาทำน้ำหมักชีวภาพแจกจ่ายประชาชน เนื่องจากสถานการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ไม่ได้จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ฯ/สาธิตให้ความรู้ในพื้นที่
เป้าหมายปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกนำกลับไปใช้ประโยชน์ ของเขตบางเขน = 31,704.57 ตัน/ปี หรือ 86.86 ตัน/วัน แยกเป็น 1.มูลฝอยรีไซเคิล เป้าหมาย = 23,778.43 ตัน/ปี หรือ 65.15 ตัน/วัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ เป้าหมาย = 7,926.14 ตัน/ปี หรือ 21.72 ตัน/วัน ผลการดำเนินงาน ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ถึงเดือน สิงหาคม 2564 ดำเนินการได้ ดังนี้ 1. มูลฝอยรีไซเคิล = 23,243.92 ตัน/ปี หรือ 63.68 ตัน/วัน 2. มูลฝอยอินทรีย์ = 7,629.62 ตัน/ปี หรือ 20.90 ตัน/วัน รวมผลการดำเนินการ = 30,873.54 ตัน/ปี หรือ 84.58 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 29.21 ของเป้าหมาย
๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ 30 เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :0.00 |
-ดำเนินการตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกแยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช 1.ปริมาณมูลฝอยที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 1599.83 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 1577.20 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 1667.55 ตัน รวมจัดเก็บขยะนำกลับมาใช้ประโยชน์ จำนวน 4844.58 ตัน 2. ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 439.70 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 423.70 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 459.20 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยอินทรีย์ จำนวน 1322.60 ตัน
คัดแยกมูลฝอยจากแหล่งกำเนิดและ นำกลับไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1.มูลฝอยรีไซเคิล = 11,505 ตัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ = 3,433 ตัน ผลการดำเนินงาน =14,938 ตัน หรือ คิดเป็นร้อยละ 14.13 ของเป้าหมาย (ข้อมูลเดือนกุมภาพันธ์ 2564)
ได้นำเอาเปลือกผักผลไม้จากตลาดในพื้นที่มาทำน้ำหมักชีวภาพแจกจ่ายประชาชน เนื่องจากสถานการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ไม่ได้จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ฯ/สาธิตให้ความรู้ในพื้นที่
เป้าหมายปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกนำกลับไปใช้ประโยชน์ ของเขตบางเขน = 31,704.57 ตัน/ปี หรือ 86.86 ตัน/วัน แยกเป็น 1.มูลฝอยรีไซเคิล เป้าหมาย = 23,778.43 ตัน/ปี หรือ 65.15 ตัน/วัน 2.มูลฝอยอินทรีย์ เป้าหมาย = 7,926.14 ตัน/ปี หรือ 21.72 ตัน/วัน ผลการดำเนินงาน ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ถึงเดือน สิงหาคม 2564 ดำเนินการได้ ดังนี้ 1. มูลฝอยรีไซเคิล = 23,243.92 ตัน/ปี หรือ 63.68 ตัน/วัน 2. มูลฝอยอินทรีย์ = 7,629.62 ตัน/ปี หรือ 20.90 ตัน/วัน รวมผลการดำเนินการ = 30,873.54 ตัน/ปี หรือ 84.58 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 29.21 ของเป้าหมาย
๑.๓.๑ ลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ 80 เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :0.00 |
ขออนุมัติจัดสรรเงินประจำงวด
อยู่ระหว่างดำเนินการ
อยู่ระหว่างดำเนินการ
อยู่ระหว่างดำเนินการ
๑.๓.๑ ลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร | |
![]() |
หน่วยนับ :อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี เป้าหมาย :3.00 ผลงาน :0.00 |
ร่วมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ จำนวน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2563 ณ บริษัท โทโรซินเทเนติคส์ แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กทม.
อยู่ระหว่างการประสานวิทยากรในการฝึกซ้อมอพยพหนีไฟประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2564 ภายในสำนักงานเขต กำหนดเดือนเมษายน 2564
งดการดำเนินกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสติดเชื้อโคโรน่า-2019
งดการดำเนินกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสติดเชื้อโคโรน่า-2019
๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยะละ 80 เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :10.00 |
จัดทำแผนปฏิบัติงาน และประสานชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อม
1.ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ในชุมชนพื้นที่เขตบางเขน ดำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 -มีนาคม 2564 จำนวนทั้งสิ้น10 ชุมชน 2.ผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายของชุมชนที่อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด
1.ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ในชุมชนพื้นที่เขตบางเขน ดำเนินการตั้งแต่เดือนเมษายน-มิถุนายน 2564 จำนวนทั้งสิ้น 4 ชุมชน 2.ผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายของชุมชนที่อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด
1.ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ในชุมชนพื้นที่เขตบางเขน ดำเนินการตั้งแต่เดือนกรกฎาคม -กันยายน 2564 จำนวนทั้งสิ้น 2 ชุมชน 2.ผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายของชุมชนที่อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด 3.จัดกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานภายในชุมชน โดยการให้ความรู้ความเข้าใจในการป้องก้นโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล แก่ประชาชน จำนวน 16 ชุมชน จากชุมชนในพื้นที่เขตทั้งหมด 72 ชุมชน คิดเป็น 22.22
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยะละ 80 เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :10.00 |
จัดทำแผนปฏิบัติงาน และประสานชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อม
1.ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ในชุมชนพื้นที่เขตบางเขน ดำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 -มีนาคม 2564 จำนวนทั้งสิ้น10 ชุมชน 2.ผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายของชุมชนที่อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด
1.ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ในชุมชนพื้นที่เขตบางเขน ดำเนินการตั้งแต่เดือนเมษายน-มิถุนายน 2564 จำนวนทั้งสิ้น 4 ชุมชน 2.ผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายของชุมชนที่อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด
1.ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ในชุมชนพื้นที่เขตบางเขน ดำเนินการตั้งแต่เดือนกรกฎาคม -กันยายน 2564 จำนวนทั้งสิ้น 2 ชุมชน 2.ผลการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายของชุมชนที่อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด 3.จัดกิจกรรมการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสานภายในชุมชน โดยการให้ความรู้ความเข้าใจในการป้องก้นโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล แก่ประชาชน จำนวน 16 ชุมชน จากชุมชนในพื้นที่เขตทั้งหมด 72 ชุมชน คิดเป็น 22.22
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ 80 เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :20.00 |
สถานประกอบการจำหน่ายอาหารในพื้นที่เขตมีทั้งหมด 350 แห่ง 1.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานที่จำหน่ายอาหาร โดยตรวจประเมินด้านกายภาพ โดยใช้แบบประเมินของสำนักอนามัย และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ทางด้านเคมีและจุลชีววิทยา จำนวน27 แห่ง 2.จัดซื้อตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ทางด้านเคมีและจุลชีววิทยา ยอดเงิน 4,500 บาท
สถานประกอบการร้านจำหน่ายอาหารในพื้นที่เขตทั้งหมด 395 แห่ง ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานที่จำหน่ายอาหาร โดยตรวจประเมินด้านกายภาพ โดยใช้แบบประเมินของสำนักอนามัย และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ทางด้านเคมีและจุลชีววิทยา จำนวน 42 แห่ง 2.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา่ โดยตรวจประเมินด้านกายภาพ โดยใช้แบบประเมินของสำนักอนามัย และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ทางด้านเคมีและจุลชีววิทยา จำนวน 26 แห่ง 3.จัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียนระดับเขต เขตบางเขน ครั้งที่ 1/2564
สถานประกอบการร้านจำหน่ายอาหารในพื้นที่เขตทั้งหมด395 แห่ง ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานที่จำหน่ายอาหาร โดยตรวจประเมินด้านกายภาพ โดยใช้แบบประเมินของสำนักอนามัย และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ทางด้านเคมีและจุลชีววิทยา จำนวน 25 แห่ง 2.ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด โดยตรวจประเมินด้านกายภาพ โดยใช้แบบประเมินของสำนักอนามัย และเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ทางด้านเคมีและจุลชีววิทยา จำนวน 10 แห่ง
- จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขตบางเขน จำนวน....395....ราย - จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน...105....ราย = 105 x 100 395 คิดเป็นร้อยละ 26.58
๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ 100 เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
กิจกรรมที่ 1 ประดับต้นไม้ช่วงเทศกาลต่างๆ โดยประดับถนนเทพรักษ์, ถนนพหลโยธินสวนหย่อมหน้าพุทธวิชชาลัย, ภายในสำนักงานเขตบางเขน และถนนผลาสินธุ์ กิจกรรมที่ 2 ปลูกซ่อมต้นไม้เกาะกลางถนนเทพรักษ์ บริเวณช่วงยูเทิร์นคอนโดพหลวิวไปถึงสะพานข้ามแยกถนนสุขาภิบาล 5, ปลูกซ่อมต้นไม้เกาะกลางถนนผลาสินธุ์ บริเวณยูเทิร์นจุดกลับรถแรกถึงสุดเขตบางเขน และประดับตกแต่งภายในสำนักงานเขตบางเขน กิจกรรมที่ 3 ประดับตกแต่งเมืองด้วยไม้ดอกไม้ประดับทั่วพื้นที่เขต เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ โดยการประดับถนนเทพรักษ์, สวนหย่อมหน้าพุทธวิชชาลัย, และภายในสำนักงานเขตบางเขน
ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวได้ จำนวน 2 แห่ง รวมขนาดพื้นที่ 6 ไร่ 2 งาน ดังนี้ 1.สวนหย่อมภายในวงเวียนหลักสี่ ขนาดพื้นที่ 4 ไร่ 2.สวนหย่อมหมู่บ้านกลางเมือง ถนนเทพรักษ์ ขนาดพื้นที่ 2 ไร่ 2 งาน
ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวได้ จำนวน 2 แห่ง รวมขนาดพื้นที่ 6 ไร่ 2 งาน ดังนี้ 1.สวนหย่อมภายในวงเวียนหลักสี่ ขนาดพื้นที่ 4 ไร่ 2.สวนหย่อมหมู่บ้านกลางเมือง ถนนเทพรักษ์ ขนาดพื้นที่ 2 ไร่ 2 งาน
ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น จำนวน 2 แห่ง 1.สวนหย่อมภายในวงเวียนหลักสี่ ประเภทสวนหมู่บ้าน ขนาดพื้นที่ 4 ไร่ 2.สวนหย่อมหมู่บ้านกลางเมือง พหลฯ-รามอินทรา ประเภทสวนหย่อมขนาดเล็ก พื้นที่ 2 ไร่ 2 งาน รวมพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น 6 ไร่ 2 งาน
๓.๓.๑ การกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ 90 เป้าหมาย :0.00 ผลงาน :0.00 |
1. แบบสรุปผลการประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางเขน ประจำปีการศึกษา 2563 2. แบบสรุปผลการนิเทศติดตามการจัดประสบการณ์และประเมินพัฒนาการเด็กของครูผู้สอนเด็กปฐมวัย ปีการศึกษา 2563
1. แบบสรุปผลการประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางเขน ประจำปีการศึกษา 2563 2. แบบสรุปผลการนิเทศติดตามการจัดประสบการณ์และประเมินพัฒนาการเด็กของครูผู้สอนเด็กปฐมวัย ปีการศึกษา 2563 3.นักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานคร ครบ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา มีความพร้อมในการเรียนในระดับที่สูงขึ้นไป 4.อยู่ระหว่างคัดกรองพัฒนาการเด็กจำนวน 5 โรงเรียน (ร่วมกับศูนย์บริการสาธารณสุข 24 บางเขน) สรุปผลการประเมินการพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางเขน 5 โรงเรียนในปีการศึกษา 2563 นักเรียนระดับปฐมวัยทั้งหมด 866 คน ได้ระดับ 2 ขึ้นไป 853 คน คิดเป็นร้อยละ 98.49
งดการดำเนินกิจกรรมและปิดภาคเรียน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่่ระบาดของโรคไวรัสติดเชื้อโคโรน่า 2019
งดการดำเนินกิจกรรมและปิดภาคเรียน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่่ระบาดของโรคไวรัสติดเชื้อโคโรน่า 2019
๓.๓.๑ การกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ 85 เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 |
1. ดำเนินการจัดซื้อวัสดุสื่อการเรียนการสอน ของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน และวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน และส่งมอบวัสดุอุปกรณ์ให้แก่ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 7 แห่ง 2. จัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนเขตมีนบุรี เพื่อแจ้งข้อราชการ ติดตามผลการดำเนินงาน และเตรียมการตรวจประเมินศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ประจำปี 2564 3. กรุงเทพมหานคร ประกาศปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 24 ธ.ค.63 - 3 ม.ค.64 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
ดำเนินการคัดกรองเรียบร้อยแล้วจำนวน 3 ศูนย์ ได้แก่ 1. ศูนย์ฯชุมชนอนันต์สุขสันต์ รุ่น 18-20 ในวันที่ 10 ก.พ. 64 จำนวนเด็ก 29 คน 2. ศูนย์ฯชุมชนเพชรสยาม ในวันที่ 16-17 ก.พ.64 จำนวนเด็ก 27 คน 3. ศูนย์ฯเจริญศิริ ในวันที่ 17 มี.ค. 64 จำนวนเด็ก 30 คน - จัดอบรมในวันที่ 11 – 12 มีนาคม 2564 ณ โรงแรมทีเค พาเลส
เตรียมความพร้อมการประเมินพัฒนาการเด็กในศูนย์ฯ แต่อยู่ระหว่างปิดศูนย์ฯ เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่ จึงยังไม่สามารถดำเนินการได้
- เด็กที่ได้รับการคัดกรอง จำนวน 314 คน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 314 คน สมวัยผ่านทุกด้าน 314 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สงสัยล่าช้า ไม่มี พบปัญหาด้านการพัฒนาการ FM, GM, PS, RL และEL -เด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าไม่มี คิดเป็นร้อยละ 100
๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ 100 เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
ฝ่ายทะเบียน ดำเนินการออกตรวจสอบตำแหน่งการปลูกสร้างอาคาร พร้อมออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามที่ประชาชนยื่นคำร้องมา และดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศของระบบเครือข่าย 1.ประจำเดือนตุลาคม 2563 จำนวน 22 จุด จำนวนบ้าน 193 หลัง 2.ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 21 จุด จำนวนบ้าน 71 หลัง 3.ประจำเดือนธันวาคม 2563 จำนวน 33 จุด จำนวนบ้าน 124 หลัง ฝ่ายโยธา ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร 1.เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 24 ราย 2.เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 16 ราย 3.เดือนธันวาคม 63 จำนวน 18 ราย
ฝ่ายทะเบียน ดำเนินการออกตรวจสอบตำแหน่งการปลูกสร้างอาคาร พร้อมออกเลขรหัสประจำบ้าน ตามที่ประชาชนยื่นคำร้องมา และดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศของระบบเครือข่าย 1.ประจำเดือนมกราคม 2564 จำนวน 24 จุด จำนวนบ้าน 88 หลัง 2.ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 22 จุด จำนวนบ้าน 50หลัง 3.ประจำเดือนมีนาคม 2564 จำนวน 19 จุด จำนวนบ้าน 38 หลัง ฝ่ายโยธา ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร 1.เดือนมกราคม 2564 จำนวน 21 ราย 2.เดือน กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 9 ราย 3.เดือน มีนาคม 2564 จำนวน 15 ราย
ฝ่ายโยธา ผลการดำเนินการเดือนเมษายน -มิถุนายน 2564 ดังนี้ 1. ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างฯ เดือน เม.ย.64 จำนวน 23 ราย 2. ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างฯ เดือน พ.ค.64 จำนวน 14 ราย 3.ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างฯ เดือน มิ.ย.64 จำนวน 18 ราย ฝ่ายทะเบียน 1.ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศของระบบเครือข่าย ประจำเดือนเมษายน 2564 จำนวน 11 จุด จำนวนบ้าน 11 หลัง 2.ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศของระบบเครือข่าย ประจำเดือน พฤษภาคม 2564 จำนวน 15 จุด จำนวนบ้าน 34 หลัง
ฝ่ายโยธา ผลการดำเนินการเดือนกรกฎาคม -กันยายน 2564 ดังนี้ 1. ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างฯ เดือน กรกฎาคม 64 จำนวน 23 ราย 2. ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างฯ เดือน สิงหาคม 64 จำนวน 29 ราย 3.ลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างฯ เดือน กันยายน 64 จำนวน 10 ราย ฝ่ายทะเบียน 1.ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศของระบบเครือข่าย ประจำเดือนกรกฎาคม 2564 จำนวน 13 จุด จำนวนบ้าน 22 หลัง 2.ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศของระบบเครือข่าย ประจำเดือน สิงหาคม 2564 จำนวน 22 จุด จำนวนบ้าน 174 หลัง 3.2.ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งของอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านในระบบภูมิสารสนเทศของระบบเครือข่าย ประจำเดือน กันยายน 2564 จำนวน 25 จุด จำนวนบ้าน45 หลัง
๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ | |
![]() |
หน่วยนับ :จัดกิจกรรมฯ อย่างน้อย 2 ครั้ง เป้าหมาย :2.00 ผลงาน :100.00 |
ผลการดำเนินการเดือนตุลาคม 2563- ธันวาคม 2563 ดังนี้ -ดำเนินการกิจกรรมที่ 1 “ตลาดนัดชุมชน คนบางเขน” จัดกิจกรรมจำหน่ายสินค้าชุมชน สินค้าอุปโภค บริโภค ณ สำนักงานเขตบางเขน จำนวน 3 ครั้ง 1. ระหว่างวันที่ 26-28 ต.ค. 63 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 10 ราย 2. ระหว่างวันที่ 30 พ.ย. – 2 ธ.ค. 63 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 10 ราย 3. ระหว่างวันที่ 24-30 ธ.ค. 63 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 10 ราย ดำเนินการกิจกรรมที่ 2 ตลาดนัดชุมชน "ทุ่งทองหนองกง" -ประชาชนมาเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวและศึกษาธรรมชาติ งานอนุรักษ์พันธุ์พืชท้องถิ่นและเศรษฐกิจเพียงพอตามฐานการเรียนรู้ “ชมทุ่งทอง ณ บางเขน” ณ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์พืชพื้นถิ่นเขตบางเขน ชุมชนเกษตรก้าวหน้าลำรางหนองกง ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 -ธันวาคม 2563
ผลการดำเนินการมกราคม -มีนาคม 2564 กิจกรรมที่ 1 “ตลาดนัดชุมชน คนบางเขน” จัดกิจกรรมจำหน่ายสินค้าชุมชน สินค้าอุปโภค บริโภค ณ สำนักงานเขตบางเขน จำนวน 2 ครั้ง 1.เดือนมกราคม 2564 จำนวน 1 ครั้ง 2.เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 1 ครั้ง กิจกรรมที่ 2 ตลาดนัดชุมชน "ทุ่งทองหนองกง" -ประชาชนมาเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวและศึกษาธรรมชาติ งานอนุรักษ์พันธุ์พืชท้องถิ่นและเศรษฐกิจเพียงพอตามฐานการเรียนรู้ “ชมทุ่งทอง ณ บางเขน” ณ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์พืชพื้นถิ่นเขตบางเขน ชุมชนเกษตรก้าวหน้าลำรางหนองกง ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563-กุมภาพันธ์ 2564
กิจกรรมที่ 1 “ตลาดนัดชุมชน คนบางเขน” งดดำเนินการเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสติดเชื้อโคโรน่า 2019 ระบาด กิจกรรมที่ 2 ตลาดนัดชุมชน "ทุ่งทองหนองกง" -ประชาชนมาเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวและศึกษาธรรมชาติ งานอนุรักษ์พันธุ์พืชท้องถิ่นและเศรษฐกิจเพียงพอตามฐานการเรียนรู้ “ชมทุ่งทอง ณ บางเขน” ณ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์พืชพื้นถิ่นเขตบางเขน ชุมชนเกษตรก้าวหน้าลำรางหนองกง อย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมที่ 1 “ตลาดนัดชุมชน คนบางเขน” งดดำเนินการเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสติดเชื้อโคโรน่า 2019 ระบาด กิจกรรมที่ 2 ตลาดนัดชุมชน "ทุ่งทองหนองกง" -ประชาชนมาเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวและศึกษาธรรมชาติ งานอนุรักษ์พันธุ์พืชท้องถิ่นและเศรษฐกิจเพียงพอตามฐานการเรียนรู้ “ชมทุ่งทอง ณ บางเขน” ณ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์พืชพื้นถิ่นเขตบางเขน ชุมชนเกษตรก้าวหน้าลำรางหนองกง อย่างต่อเนื่อง
๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ 100 เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด
โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด
โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด
โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ยกเลิกโครงการ จำนวน 5 โครงการ และดำเนินการแล้วเสร็จ 48 โครงการ